Mathcenter Forum

Mathcenter Forum (https://www.mathcenter.net/forum/index.php)
-   ปัญหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย (https://www.mathcenter.net/forum/forumdisplay.php?f=3)
-   -   my math problem collection (https://www.mathcenter.net/forum/showthread.php?t=17060)

-InnoXenT- 11 กันยายน 2012 01:15

56. กำหนดให้ $p,q \in \mathbb{Z}^+$ $\gcd{(p,q)} = 1$ และ

$$\frac{p}{q} = \frac{543}{2549}+\frac{543\times542}{2549\times2548}+...+\frac{543\times542\times ...\times2\times1}{2549\times2548\times ...\times2007}$$
จงหาค่าของ $p+q$


57. กำหนดให้ $\displaystyle{a\Delta b} = \frac{a^b}{a^b+\sqrt{a}}$ และ

$\displaystyle{A = \sum_{n=1}^{1002}(n\Delta\frac{n}{2004})}$
$\displaystyle{B = \sum_{n=1003}^{2003}((2004-n)\Delta\frac{n}{2004})}$

จงหาค่าของ $A+B$


58. กำหนดให้ $\displaystyle{A_n = 9^{9^{9^{9^{...^9}}}}}$ มี $9$ เป็นเลขชี้กำลังทั้งหมด $n$ ตัว $S_n = A_1+A_2+...+A_n$ และ $G_n = A_1A_2...A_n$ จงหา $\sqrt[S_{n-1}]{G_n}$


59. จงแก้สมการ $\displaystyle{\sqrt[4]{2-\sqrt[3]{2+\sqrt{x}}}+\sqrt[4]{2+\sqrt[3]{2+\sqrt{x}}} = \sqrt{2}}$


60. กำหนดให้ $a$ เป็นจำนวนจริงบวก และมีเส้นตรง $\ell$ สัมผัสกับวงกลม $x^2+y^2 = 2a^2$ และสัมผัสกับ พาราโบลา $y^2=8ax$ จงหาเส้นตรง $\ell$ ทั้งหมดที่เป็นไปได้


Suwiwat B 11 กันยายน 2012 22:26

57. พิจารณา $a\Delta (1-b) = \frac{a^{1-b}}{a^{1-b}+\sqrt{a}} = \frac{\sqrt{a}}{a^b + \sqrt{a}}$
จะได้ว่า $ a\Delta b + a\Delta (1-b) = 1$
นำ $A+B$ มากระจายซะเลย จะเห็นว่าจับคู่กันได้ $1001$ คู่ เเละเหลือ
$1002\Delta \frac{1002}{2004} = 1002\Delta \frac{1}{2} = \frac{1}{2} = 0.5$
จะได้ว่า $A+B = 1001.5$

Suwiwat B 12 กันยายน 2012 19:44

ข้อ 58 ผมรู้สึกเเปลกๆ .... หรือไม่ก็ผมทำผิด ...
ดู $G_n = 9^9\times 9^{9^9}\times 9^{9^{9^9}}\times ...\times 9^{9^{9^{9^{9^...^9}}}} (มี 9 เป็นเลขกำลัง n ตัว)$
$= 9^{9+9^9+9^{9^9}+...+9^{9^9{^{9^...^9}}}} (มี 9 เป็นเลขกำลัง n-1 ตัว))$
$= 9^{9+S_{n-1}}$
$= 9^9 \times 9^{S_{n-1}}$

ดังนั้น $\sqrt[S_{n-1}]{G_n} = 9\times \sqrt[S_{n-1}]{9^9}$

-InnoXenT- 13 กันยายน 2012 18:04

ผมพยายามทำข้อ 56. อยู่ :sweat:

-InnoXenT- 14 กันยายน 2012 01:16

อ้างอิง:

ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Suwiwat B (ข้อความที่ 146824)
ข้อ 58 ผมรู้สึกเเปลกๆ .... หรือไม่ก็ผมทำผิด ...
ดู $G_n = 9^9\times 9^{9^9}\times 9^{9^{9^9}}\times ...\times 9^{9^{9^{9^{9^...^9}}}} (มี 9 เป็นเลขกำลัง n ตัว)$
$= 9^{9+9^9+9^{9^9}+...+9^{9^9{^{9^...^9}}}} (มี 9 เป็นเลขกำลัง n-1 ตัว))$
$= 9^{9+S_{n-1}}$
$= 9^9 \times 9^{S_{n-1}}$

ดังนั้น $\sqrt[S_{n-1}]{G_n} = 9\times \sqrt[S_{n-1}]{9^9}$

ก็น่าจะถูกแล้วนะครับ :unsure:

Thgx0312555 14 กันยายน 2012 22:15

อ้างอิง:

ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ -InnoXenT- (ข้อความที่ 146736)
56. กำหนดให้ $p,q \in \mathbb{Z}^+$ $\gcd{(p,q)} = 1$ และ

$$\frac{p}{q} = \frac{543}{2549}+\frac{543\times542}{2549\times2548}+...+\frac{543\times542\times ...\times2\times1}{2549\times2548\times ...\times2007}$$
จงหาค่าของ $p+q$

$$\frac{543}{2549}+\frac{543\times542}{2549\times2548}+\cdots+\frac{543\times542\times \cdots\times2\times1}{2549\times2548\times \cdots\times2007}$$
$$=\frac{543\times542\times \cdots\times2\times1}{2549\times2548\times \cdots\times2007}(\frac{2548\times 2547\times\cdots\times2007}{542\times541\times\cdots\times1}+\frac{2547\times2546\times\cdots\times2007}{541\times540\times \cdots \times1}+\cdots +\frac{2007}{1}+1)$$
$$= \frac{1}{\binom{2549}{543}}(\binom{2548}{542}+\binom{2547}{541}+\cdots+\binom{2006}{0})$$
$$= \frac{1}{\binom{2549}{543}}(\binom{2549}{542})$$
$$=\frac{543}{2007}$$
$$=\frac{181}{669}$$
$$\therefore p+q=850$$
กว่าจะฝันออก ==

polsk133 14 กันยายน 2012 23:10

#67 ฝันได้โหดมากครับ 555+

-InnoXenT- 14 กันยายน 2012 23:18

จริง ฝันสุดโหด

Suwiwat B 15 กันยายน 2012 00:59

ผมมาเกือบถูกละ ... ก็คือมาผิดอยู่ดี 55555 เจ๋งมากเลยครับ

Euler-Fermat 15 กันยายน 2012 01:06

อ้างอิง:

ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Thgx0312555 (ข้อความที่ 146920)
$$\frac{543}{2549}+\frac{543\times542}{2549\times2548}+\cdots+\frac{543\times542\times \cdots\times2\times1}{2549\times2548\times \cdots\times2007}$$
$$=\frac{543\times542\times \cdots\times2\times1}{2549\times2548\times \cdots\times2007}(\frac{2548\times 2547\times\cdots\times2007}{542\times541\times\cdots\times1}+\frac{2547\times2546\times\cdots\times2007}{541\times540\times \cdots \times1}+\cdots +\frac{2007}{1}+1)$$
$$= \frac{1}{\binom{2549}{543}}(\binom{2548}{542}+\binom{2547}{541}+\cdots+\binom{2006}{0})$$
$$= \frac{1}{\binom{2549}{543}}(\binom{2549}{542})$$
$$=\frac{543}{2007}$$
$$=\frac{181}{669}$$
$$\therefore p+q=850$$
กว่าจะฝันออก ==

คารวะ 10 จอก ผมฝันไม่ถึงเลยครับ :please:

-InnoXenT- 15 กันยายน 2012 17:38

ทำข้อ 59 กับ 60 ได้แล้วครับ :sweat:

อาทิตย์นี้ผมปล่อยโจทย์ต่อไม่ได้นะครับ เพราะสมุดจดผมทิ้งไว้ที่หอ อาจจะปล่อยต่อในเย็นวันจันทร์ :wacko:

-InnoXenT- 16 กันยายน 2012 02:36

เพิ่มโจทย์น่าสนใจจากที่อื่นๆ อีก 10 ข้อครับ

61. จงแสดงว่า $\displaystyle{\frac{1}{15} < \frac{1}{2}\times\frac{3}{4}\times...\times\frac{99}{100}<\frac{1}{10}}$


62. จงหาค่า $x \in \left[ 0,\,2\pi\right] $ ที่ทำให้

$\sin{x} < \cos{x} < \tan{x} < \cot{x}$


63. กำหนดลำดับ $a_n$ นิยามดังนี้ $a_1 = 8, a_2 = 18$ และ $a_{n+2} = a_{n+1}a_n$ จงหาค่า $n$ ที่ทำให้ $a_n$ เป็นกำลังสองสมบูรณ์


64. จงหาค่าจำนวนเต็ม $(x,y)$ ที่ทำให้

$$6x^2-3xy-13x+5y=-11$$


65. กำหนดให้ $a,b,c$ เป็นรากของ สมการ $x^3-x^2-x-1 = 0$
65.1) จงแสดงว่า สมการข้างต้น ไม่มีรากที่เท่ากัน


65.2) จงแสดงว่า ค่าข้างล่างเป็นจำนวนเต็ม

$$\frac{a^{1982}-b^{1982}}{a-b}+\frac{b^{1982}-c^{1982}}{b-c}+\frac{c^{1982}-a^{1982}}{c-a}$$


66. จงหาค่ามากที่สุดของจำนวนจริง $z$ ที่ทำให้

$$x+y+z = 5$$
$$xy+yz+xz = 3$$

และ $x,y$ เป็นจำนวนจริง


67. กำหนดให้ $x = (1+\frac{1}{n})^n$ และ $y = (1+\frac{1}{n})^{n+1}$ จงแสดงว่า $x^y = y^x$


68. กำหนดให้ $n$ เป็นจำนวนเต็มบวก จงแสดงว่า

$$1^2-2^2+3^2-4^2+...+(-1)^n(n-1)^2-(-1)^{n+1}n^2 = (-1)^{n+1}(1+2+...+n)$$


69. จงแก้สมการ

$$\left| x+3\right| +\left| x-1\right| =x+1$$


70. กำหนดให้ $\displaystyle{h(n) = 1+\frac{1}{2}+\frac{1}{3}+...+\frac{1}{n}}$ สำหรับทุกจำนวนนับ $n$ จงแสดงว่า

$$n+h(1)+h(2)+...+h(n-1) = nh(n), \forall n\geq 2$$


Beatmania 20 กันยายน 2012 16:26

มาเสพครับ โจทย์สวยๆดีๆ เยอะมากเลย :)
66. โคชีได้ครับ
70.จัดรูปนิดนึงก็จะได้เลยครับ
ที่ฌพสแค่นี้ก่อนเพราะยังไม่มีเวลาทำครับ ช่วงนี้ลั้ลลาก่อน :haha:
มาแล้วครับ
66.
เราจะมาหา $x^2+y^2+z^2$ กันครับ

จากที่ว่า $x^2+y^2+z^2=(x+y+z)^2-2xy-2yz-2zx=x^2+y^2+z^2$

จะได้$x^2+y^2+z^2=25-6=19$

จาก โคชี

$x+y\leqslant \sqrt{2(x^2+y^2)} $

$5-z\leqslant \sqrt{2(19-z^2)} $

$25-10z+z^2\leqslant 38-2z^2$

$3z^2-10z-13\leqslant 0$

$(z+1)(3z-13)\leqslant 0$

ค่า z ที่มากที่สุดก็คือ $\frac{13}{3} $ ตัวนี้นี่เอง:)

63.ให้ภาวะคู่คี่ของกำลังของ 2 และ 3 ในพจน์ที่ n เป็น (a,b) ตามลำดับ

โดยจะแทน o และ e เป็น คี่และคู่ ตามลำดับ

จะได้ว่า

$a_1$ เป็น (o,e)

$a_2$ เป็น (o,e)

$a_3$ เป็น (e,e)

$a_4$ เป็น (o,e)

$a_5$ เป็น (o,e)

$a_6$ เป็น (e,e)

จะเห็นได้ว่า พจน์ที่ 3 , 6 ,9 ... จะเป็น (e,e)

กล่าวคือ เป็นกำลังสองสมบูรณ์นั่นเอง :D

~ArT_Ty~ 20 กันยายน 2012 17:50

ข้อ 67 ครับ

$$x\ln y=(1+\frac{1}{n})^n \ln[(1+\frac{1}{n})^{n+1}]=(1+\frac{1}{n})^n(n+1) \ln(1+\frac{1}{n})=(1+\frac{1}{n})^{n+1}n \ln(1+\frac{1}{n})=(1+\frac{1}{n})^{n+1} \ln[(1+\frac{1}{n})^n]=y\ln x$$

จะได้ว่า $x^y=y^x$ ตามต้องการครับ

ป.ล. ข้อ 65.1 หมายถึงว่ารากทุกตัวต่างกันหมดใช่มั้ยครับ ถ้าจริง คราวหลังไม่ควรเขียนแบบนี้นะครับ เพราะมันไม่ถูกหลัก

อาจจะทำให้อ่านโจทย์เข้าใจผิดได้นะครับ

-InnoXenT- 20 กันยายน 2012 18:09

อ้างอิง:

ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ ~ArT_Ty~ (ข้อความที่ 147195)
ข้อ 67 ครับ

$$x\ln y=(1+\frac{1}{n})^n \ln[(1+\frac{1}{n})^{n+1}]=(1+\frac{1}{n})^n(n+1) \ln(1+\frac{1}{n})=(1+\frac{1}{n})^{n+1}n \ln(1+\frac{1}{n})=(1+\frac{1}{n})^{n+1} \ln[(1+\frac{1}{n})^n]=y\ln x$$

จะได้ว่า $x^y=y^x$ ตามต้องการครับ

ป.ล. ข้อ 65.1 หมายถึงว่ารากทุกตัวต่างกันหมดใช่มั้ยครับ ถ้าจริง คราวหลังไม่ควรเขียนแบบนี้นะครับ เพราะมันไม่ถูกหลัก

อาจจะทำให้อ่านโจทย์เข้าใจผิดได้นะครับ

รับทราบครับ :happy:


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 07:19

Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha