Mathcenter Forum

Mathcenter Forum (https://www.mathcenter.net/forum/index.php)
-   ฟรีสไตล์ (https://www.mathcenter.net/forum/forumdisplay.php?f=6)
-   -   ในอวกาศ เราไร้น้ำหนักจริงหรือ ? ภาค 2 (https://www.mathcenter.net/forum/showthread.php?t=12429)

มารบูรพา 03 ธันวาคม 2010 16:34

ในอวกาศ เราไร้น้ำหนักจริงหรือ ? ภาค 2
 
จากบทความที่เขียนไปก่อนหน้า http://www.mathcenter.net/forum/showthread.php?t=12342
และจากคำวิจารณ์ต่างๆ ผมก็ได้ไปคิดต่อว่า
มวล = 5 kg. และ F = 4.16875 * 10^-3 N ( F มาจาก F=MmG/d^2 )
จากกฎ w=mg ในที่นี้ g จะเท่ากับ 4.16875 * 10^-3 เนื่องจากเป็นแรงดึงดูดระหว่างวัตถุ
จะได้ w= 5 * 4.16875 * 10^-3
w = 0.02084375
นั่นคือเราจะมีน้ำหนัก 0.02084375 kg. นั่นเอง

ในบทความเดิมมีส่วนที่ผมิดเยอะมากต้องขอโทษจริง
ลองดูอันใหม่แล้วคิดตามดูครับ

ติชมตามสบาย ขอบคุณที่ดูครับ

krit 06 ธันวาคม 2010 20:32

งงงงงงจริงๆ

มารบูรพา 07 ธันวาคม 2010 19:19

อ้างอิง:

ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ krit (ข้อความที่ 105120)
งงงงงงจริงๆ

ต้องอ่านตั้งแต่อันแรกครับ ลิ้งที่ให้ไปเป็นอันแรก
อันนี้อันที่ 2

Xx GAMMA xX 08 ธันวาคม 2010 20:55

อย่างที่ผมบอกครับถึงจะมีน้ำหนักก็น้อยมากครับ

มารบูรพา 10 ธันวาคม 2010 03:00

อ้างอิง:

ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Xx GAMMA xX (ข้อความที่ 105258)
อย่างที่ผมบอกครับถึงจะมีน้ำหนักก็น้อยมากครับ

ยังไงก็มีนะครับ

gKeirnegi 19 ธันวาคม 2010 22:30

ไม่มีแน่นอน น้ำหนัก เกิดจาก แรงดึงดูดที่โลกกระทำต่อมวลของเรา
ถ้าหลุดพ้น ระยะแรงดึงดูดของโลก ก็คือไม่มีน้ำหนัก

มารบูรพา 20 ธันวาคม 2010 17:47

อ้างอิง:

ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ gKeirnegi (ข้อความที่ 106084)
ไม่มีแน่นอน น้ำหนัก เกิดจาก แรงดึงดูดที่โลกกระทำต่อมวลของเรา
ถ้าหลุดพ้น ระยะแรงดึงดูดของโลก ก็คือไม่มีน้ำหนัก

เมื่อพ้นจากแรงดึงดูดของโลกเราแล้ว เราก็จะไม่มีน้ำหนักนั้น ถูกครับ แต่อย่าลืมว่าคุณต้องอยู่ในยานอวกาศ

และจากกฎระหว่างมวล ( F=MmG/d^2 ) ทำให้

คน ดึงดูด ยาน

และ

ยาน ดึงดูด คน

ได้ค่าแรงเท่าไร ก็เอามาเข้าสูตร W=ma
W=น้ำหนัก
m=มวลของเรา
a=ความเร่ง ( ค่าแรงที่ได้มานั่นล่ะ )

เท่านี้คนก็มีน้ำหนักในอวกาศแล้ว

อย่าลืมนะว่า " สสารทุกชนิดมีแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน "

Amankris 21 ธันวาคม 2010 00:50

ทำยังไงจึงจะพ้นแรงดึงดูดของโลกครับ

มารบูรพา 21 ธันวาคม 2010 11:42

อ้างอิง:

ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Amankris (ข้อความที่ 106156)
ทำยังไงจึงจะพ้นแรงดึงดูดของโลกครับ

ถ้าจะให้พ้นแรงดึงดูดของโลกก็ต้องไปไกลๆโลกสิครับ แต่คุณก็ต้องมีน้ำหนักอยู่ดีเพราะคุณอยู่ในยานอวกาศ
หรือจะบอกว่าคุณสามารถอยู่ในอวกาศโดยไม่มียานอวกาศได้

Amankris 22 ธันวาคม 2010 00:00

อ้างอิง:

ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ มารบูรพา (ข้อความที่ 106166)
ถ้าจะให้พ้นแรงดึงดูดของโลกก็ต้องไปไกลๆโลกสิครับ

ไกลแค่ไหนหรอครับ:confused:

มารบูรพา 22 ธันวาคม 2010 16:10

อ้างอิง:

ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Amankris (ข้อความที่ 106235)
ไกลแค่ไหนหรอครับ:confused:

ไกลแค่ไหนนั้นคงบอกไม่ได้หรอกครับ

สมมติ ว่า คุณไปอยู่ บนดาวเนปจูน ที่อยู่ไกลจากโลกมากๆ คุณก็ยังหนีไม่พ้นแรงดึงดูดของโลกอยู่ดี ( ถึงจะน้อยมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆก็เถอะ ) เพราะสสารทุกชนิดย่อมมีแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน

Amankris 22 ธันวาคม 2010 16:29

นั่นละครับประเด็น

อ้างอิง:

ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ มารบูรพา (ข้อความที่ 106166)
อ้างอิง:

ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Amankris (ข้อความที่ 106156)
ทำยังไงจึงจะพ้นแรงดึงดูดของโลกครับ

ถ้าจะให้พ้นแรงดึงดูดของโลกก็ต้องไปไกลๆโลกสิครับ


yellow 23 ธันวาคม 2010 17:06

อ้างอิง:

ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ gKeirnegi (ข้อความที่ 106084)
ไม่มีแน่นอน น้ำหนัก เกิดจาก แรงดึงดูดที่โลกกระทำต่อมวลของเรา
ถ้าหลุดพ้น ระยะแรงดึงดูดของโลก ก็คือไม่มีน้ำหนัก

ไม่ใช่ครับ เกิดระหว่าง มวล ต่อ มวล ครับ มวลมากก็จะมีแรงดึงดูดสูงมาก

เช่น บนดวงจันทร์ น้ำหนักเราจะน้อยกว่าโลกประมาณ 6 เท่า

บนดาวพฤหัส น้ำหนักเราจะมากกว่าโลกประมาณ 2.64 เท่า

มารบูรพา 23 ธันวาคม 2010 18:56

อ้างอิง:

ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ yellow (ข้อความที่ 106398)
ไม่ใช่ครับ เกิดระหว่าง มวล ต่อ มวล ครับ มวลมากก็จะมีแรงดึงดูดสูงมาก

เช่น บนดวงจันทร์ น้ำหนักเราจะน้อยกว่าโลกประมาณ 6 เท่า

บนดาวพฤหัส น้ำหนักเราจะมากกว่าโลกประมาณ 2.64 เท่า

โอ้ เทพมากครบ คุณ yellow

GhostembeR 23 ธันวาคม 2010 23:13

ผมล่ะงงจริงๆ ตั้งแต่กระทู้แรกแล้วตรงบรรดทัดที่ 3 ที่บอกว่า "โดยค่าแรงดึงดูดนั้น = 9.8 หรือ 10 m/s"
ไอแรงดึงดูดที่ว่ามันหมายถึงน้ำหนักไม่ใช่หรอครับ อีกอย่างแรงมันมีหน่วยเป็น N
ส่วน 9.8 หรือ 10 m/s2 มันคือความเร่งโน้มถ่วงไม่ใช่หรอ
หรือผมสับสนไปเอง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 12:09

Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha