Mathcenter Forum

Mathcenter Forum (https://www.mathcenter.net/forum/index.php)
-   ปัญหาคณิตศาสตร์ ประถมปลาย (https://www.mathcenter.net/forum/forumdisplay.php?f=5)
-   -   Marathon - Primary # 2 (https://www.mathcenter.net/forum/showthread.php?t=10982)

กระบี่เดียวดายแสวงพ่าย 09 มิถุนายน 2010 22:57

ตอบ$\frac{6}{5}$ ไหมครับ
ไม่แน่ใจว่าเข้าใจโจทย์ถูกรึเปล่านะครับ
$\frac{1+\frac{1}{2}+\frac{1}{3} +.... }{\frac{1}{2}(1+\frac{1}{2}+...)+ \frac{1}{3}(1+\frac{1}{2}+...) }$
$ \frac{1}{\frac{1}{2}+\frac{1}{3} } =\frac{6}{5} $

kimchiman 09 มิถุนายน 2010 23:25

อ้างอิง:

ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ กระบี่เดียวดายแสวงพ่าย (ข้อความที่ 90599)
ตอบ$\frac{6}{5}$ ไหมครับ
ไม่แน่ใจว่าเข้าใจโจทย์ถูกรึเปล่านะครับ
$\frac{1+\frac{1}{2}+\frac{1}{3} +.... }{\frac{1}{2}(1+\frac{1}{2}+...)+ \frac{1}{3}(1+\frac{1}{2}+...) }$
$ \frac{1}{\frac{1}{2}+\frac{1}{3} } =\frac{6}{5} $

เกือบถูกครับ
ลืมไปนิดเดียว

แล้วถ้า $\frac{S_1}{S_2}\geqslant1$ มันเป็นไปได้หรือครับ

JSompis 10 มิถุนายน 2010 06:03

อ้างอิง:

ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ kimchiman (ข้อความที่ 90594)
ข้อต่อไป

$S_1=\dfrac{1}{1}+\dfrac{1}{2}+\dfrac{1}{3}+\dfrac{1}{4}+\dfrac{1}{5}+\dfrac{1}{6}+...$

$S_2 คือผลรวมส่วนกลับของจำนวนเต็มบวกที่มี 2 หรือ 3 เป็นตัวประกอบ $

จงหา $\dfrac{S_1}{S_2}$

$S_1=\dfrac{1}{1}+\dfrac{1}{2}+\dfrac{1}{3}+\dfrac{1}{4}+\dfrac{1}{5}+\dfrac{1}{6}+...$

$S_2=(\dfrac{1}{2}+ \dfrac{1}{4} + \dfrac{1}{6} + \dfrac{1}{8}+...) + (\dfrac{1}{3}+\dfrac{1}{9}+\dfrac{1}{15}+\dfrac{1}{21}+...$
$S_2=\frac{1}{2}(1+ \dfrac{1}{2} + \dfrac{1}{3} + \dfrac{1}{4}+...) + \frac{1}{3}(1+\dfrac{1}{3}+\dfrac{1}{5}+\dfrac{1}{7}+...)$
$S_2=\frac{1}{2}S_1 + \frac{1}{3}(S_1 - \frac{1}{2}S_1)$
$S_2=\frac{2}{3}S_1$

$\frac{S_1}{S_2} = \frac{S_1}{\frac{2S_1}{3}}$
$\frac{S_1}{S_2} = \frac{3}{2}$

kimchiman 10 มิถุนายน 2010 07:03

อ้างอิง:

ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ JSompis (ข้อความที่ 90605)
$S_1=\dfrac{1}{1}+\dfrac{1}{2}+\dfrac{1}{3}+\dfrac{1}{4}+\dfrac{1}{5}+\dfrac{1}{6}+...$

$S_2=(\dfrac{1}{2}+ \dfrac{1}{4} + \dfrac{1}{6} + \dfrac{1}{8}+...) + (\dfrac{1}{3}+\dfrac{1}{9}+\dfrac{1}{15}+\dfrac{1}{21}+...$
$S_2=\frac{1}{2}(1+ \dfrac{1}{2} + \dfrac{1}{3} + \dfrac{1}{4}+...) + \frac{1}{3}(1+\dfrac{1}{3}+\dfrac{1}{5}+\dfrac{1}{7}+...)$
$S_2=\frac{1}{2}S_1 + \frac{1}{3}(S_1 - \frac{1}{2}S_1)$
$S_2=\frac{2}{3}S_1$

$\frac{S_1}{S_2} = \frac{S_1}{\frac{2S_1}{3}}$
$\frac{S_1}{S_2} = \frac{3}{2}$

ถูกต้องครับ คุณ JSompis ตอบคําถามผมได้ทุกข้อเลย

JSompis 10 มิถุนายน 2010 10:32


banker 10 มิถุนายน 2010 10:50

อ้างอิง:

ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ JSompis (ข้อความที่ 90611)


$\pi r^2 = 3850$

$r = 35$

$2\pi r = 2 \times \frac{22}{7} \times 35 = 220 $

ถ้าเป็นประถม ก็ไล่เอาเลยครับ

5 +5 + 105 +105 = 220

6 + 6 + 104 +104 = 220

7+ 7+ 103 + 103 = 220

8+ 8+102 + 102 = 220
.
.
.
54 + 54 + 56 + 56

55 +55 + 55 + 55 = 220

ตอบ 51 วิธี

JSompis 10 มิถุนายน 2010 11:42


กระบี่เดียวดายแสวงพ่าย 10 มิถุนายน 2010 12:19

อ้างอิง:

ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ kimchiman (ข้อความที่ 90603)
เกือบถูกครับ
ลืมไปนิดเดียว

แล้วถ้า $\frac{S_1}{S_2}\geqslant1$ มันเป็นไปได้หรือครับ

เป็นไปได้ซะแล้วครับเพราะคำตอบที่คุณjsompisตอบ และคุณkimchiman ยืนยันคำดอบ
ก็คือคำตอบเป็น 1.5 นี่คร้บ
อ้างอิง:

ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ JSompis (ข้อความที่ 90605)
$S_1=\dfrac{1}{1}+\dfrac{1}{2}+\dfrac{1}{3}+\dfrac{1}{4}+\dfrac{1}{5}+\dfrac{1}{6}+...$

$S_2=(\dfrac{1}{2}+ \dfrac{1}{4} + \dfrac{1}{6} + \dfrac{1}{8}+...) + (\dfrac{1}{3}+\dfrac{1}{9}+\dfrac{1}{15}+\dfrac{1}{21}+...$
$S_2=\frac{1}{2}(1+ \dfrac{1}{2} + \dfrac{1}{3} + \dfrac{1}{4}+...) + \frac{1}{3}(1+\dfrac{1}{3}+\dfrac{1}{5}+\dfrac{1}{7}+...)$
$S_2=\frac{1}{2}S_1 + \frac{1}{3}(S_1 - \frac{1}{2}S_1)$
$S_2=\frac{2}{3}S_1$

$\frac{S_1}{S_2} = \frac{S_1}{\frac{2S_1}{3}}$
$\frac{S_1}{S_2} = \frac{3}{2}$


kimchiman 10 มิถุนายน 2010 12:35

ขอโทษครับ ในกระดาษทดคิดกลับตัวอ่ะครับ

banker 10 มิถุนายน 2010 12:41

อ้างอิง:

ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ JSompis (ข้อความที่ 90617)

โจทย์แนวนี้ไม่ถนัด มาลองมั่วๆดู

ตู้โดยสารแต่ละตู้ มีประตูขึ้น-ลง ข้างละ 2 ประตู แสดงว่า หนึ่งตู้มี 4 ประตู

มาคิดแบบสามัญสำนึก ถ้ามีตู้เดียว (มี 4 ประตู)
ขึ้นประตู 1 ลงได้ 4 ประตู(รวมทั้งประตูที่ขึ้นด้วย)
ขึ้นประตู 2 ลงได้ 4 ประตู(รวมทั้งประตูที่ขึ้นด้วย)
ขึ้นประตู 3 ลงได้ 4 ประตู(รวมทั้งประตูที่ขึ้นด้วย)
ขึ้นประตู 4 ลงได้ 4 ประตู(รวมทั้งประตูที่ขึ้นด้วย)

รวม 4 x 4 = 16 วิธี

เมื่อมี 10 ตู้ ก็มี 40 ประตูs

ก็ควรได้ 40 x 40 = 1600 วิธี

ไม่รู้ถูกหรือเปล่า :haha:

กระบี่เดียวดายแสวงพ่าย 10 มิถุนายน 2010 12:45

คุณอาbanker แล้วไอ้ประตูด้านที่ติดหัวรถจักรจะเอายังไงกับมันดีครับ

banker 10 มิถุนายน 2010 12:56

ผมจินตนาการว่า แต่ละตู้โดยสารจะทะลุถึงกันได้ ยกเว้นตู้ที่ติดกับหัวรถจักรไม่ทะลุไปออกห้องคนขับ (ผมคีความประโยคนั้น เป็นอย่างนี้ จึงมี 40 ประตู)

แต่ถ้าหมายถึงตู้แรกที่ติดตู้คนขับมีแค่ 2 ประตู ก็จะเหลือ 38 ประตู ก็มี 38 x 38 = 1444 วิธี

(ตู้สุดท้ายเอาด้วยไหมครับ มีทางลงตรงท้ายขบวนอีกประตู ขึ้นลงได้



ถ้านับช่องนี้ด้วย ก็เป็น 39 x 39 วิธี) :haha:

JSompis 10 มิถุนายน 2010 13:03

อ้างอิง:

ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ banker (ข้อความที่ 90626)
ผมจินตนาการว่า แต่ละตู้โดยสารจะทะลุถึงกันได้ ยกเว้นตู้ที่ติดกับหัวรถจักรไม่ทะลุไปออกห้องคนขับ (ผมคีความประโยคนั้น เป็นอย่างนี้ จึงมี 40 ประตู)

แต่ถ้าหมายถึงตู้แรกที่ติดตู้คนขับมีแค่ 2 ประตู ก็จะเหลือ 38 ประตู ก็มี 38 x 38 = 1444 วิธี

(ตู้สุดท้ายเอาด้วยไหมครับ มีทางลงตรงท้ายขบวนอีกประตู ขึ้นลงได้

ถ้านับช่องนี้ด้วย ก็เป็น 39 x 39 วิธี) :haha:

เอาแค่ 38x38 ก็พอแล้วครับลุง ช่องที่ตู้ทะลุถึงกันไม่นับเป็นประตู แค่นี้ก็ขึ้นลงกันหน้ามืดแล้ว:haha:

JSompis 10 มิถุนายน 2010 13:06

จงหาค่า x เมื่อ $4^{2-x} + 2^{3-2x} + 2^{2-2x} = 14$

banker 10 มิถุนายน 2010 13:13

อ้างอิง:

ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ JSompis (ข้อความที่ 90628)
จงหาค่า x เมื่อ $4^{2-x} + 2^{3-2x} + 2^{2-2x} = 14$

คุ้นๆว่าเพิ่งติวหลานไปเมื่อวานนี้เอง :haha:

$4^{2-x} + 2^{3-2x} + 2^{2-2x} = 14$

$(2^2)^{2-x} + 2 \cdot 2^{2-2x} + 2^{2-2x} = 14$

$ 2^2 \cdot (2)^{2-2x} + 2 \cdot 2^{2-2x} + 2^{2-2x} = 7 \cdot 2$

$7 \cdot 2^{2-2x} = 7 \cdot 2^1$

$2 - 2x=1$

$x = \frac{1}{2}$


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 17:56

Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha