ดูหนึ่งข้อความ
  #29  
Old 07 สิงหาคม 2010, 18:18
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 546
เทพแห่งคณิตศาสตร์ตัวจริง is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ banker View Post
ข้อ 16 ก่อนนะครับ

ข้อนี้ดูเหมือนรูปแต่ละที่ไม่เหมือนกัน คือการครอบคลุมของปีกกาไม่เหมือนกัน


ถ้าเป็นของสวนกุหลาบ ที่คุณเทพฯอ้างถึง ดูเหมือนปีกกาจะเขมือบทั้งยวง แบบนี้ครับ

$ x =$ \(\underbrace{1000...0005}_{m ตัว}\)

$ y =$ \(\underbrace{1000...0003}_{n ตัว}\)

คำตอบจึงเป็น $10^{m+n-2} + 3 \times 10^{m-1} + 5 \times 10^{n-1} +15$





ของคุณหยินหยาง เขมือบไปถึงประตูหลัง โดยไม่ยุ่งกับประตูหน้า แบบนี้

$ x =$ \(1 \underbrace{000...0005}_{m ตัว}\)

$ y =$ \(1 \underbrace{000...0003}_{n ตัว}\)

จึงได้ $x =10^m+5, \ \ \ y=10^n+3$



ส่วนของผม ดูจากรูปที่โพสต์ในเว็บนี้ ปีกกากินเฉพาะพุง หัวกับท้ายไม่เอา เป็นแบบนี้

$ x =$ \(1\underbrace{000...000}_{m ตัว}\)$5 $ = \(1\underbrace{000...000}_{m+1 ตัว}\) $+5 = 10^{m+1} + 5 $ ... (1)


$ y =$ \(1\underbrace{000...000}_{n ตัว}\)$3 $ = \(1\underbrace{000...000}_{n+1 ตัว}\) $+3 = 10^{n+1} + 3 $ ... (2)

สองสมการคูณกัน ก็ได้ $xy = 10^{m+n+2} +3 \cdot 10^{m+1} +5 \cdot 10^{n+1} +15$



โดยสรุปก็คือ คำตอบขึ้นกับปีกกาว่าครอบคลุมตรงไหน

คำตอบไม่สำคัญเท่าวิธีคิด วิธีทำ มิใช่หรือครับ
อ้อ เข้าใจแล้วครับ ในหนังสือปีกกามันคลุมทั้งหมดครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้