ดูหนึ่งข้อความ
  #3  
Old 09 สิงหาคม 2010, 22:50
nongtum's Avatar
nongtum nongtum ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 เมษายน 2005
ข้อความ: 3,246
nongtum is on a distinguished road
Default

ข้อแรก จริงๆแล้วสูตรไม่น่าจะใช่ $A=Pe^{rt}$ นะครับ

สมมติว่ามีเงินต้นตอนฝาก $P$ บาท คิดอัตราดอกเบี้ยปีละ $r$ %
สิ้นปีแรกจะมีเงินทั้งหมด $P(1+\frac{r}{100})$ บาท
สิ้นปีที่สองจะมีเงินทั้งหมด $P(1+\frac{r}{100})(1+\frac{r}{100})=P(1+\frac{r}{100})^2$ บาท
...
สิ้นปีที่ $t$ จะมีเงินทั้งหมด $P(1+\frac{r}{100})^{t-1}(1+\frac{r}{100})=P(1+\frac{r}{100})^t$ บาท
ถ้าว่ากันตามนี้ เมื่อสิ้นปีที่ $t=3$ จะมีเงิน $10000\times1.05^3=11576.25$ บาท

แต่ถ้าใช้สูตรที่โจทย์ยกมาให้ จะต้องแทน $r=0.05$ ดังนั้นเมื่อสิ้นปีที่สาม จะได้ $A=10000\times e^{3\cdot 0.05}=11618.34$ บาท
__________________
คนไทยร่วมใจอย่าใช้ภาษาวิบัติ
ฝึกพิมพ์สัญลักษณ์สักนิด ชีวิต(คนตอบและคนถาม)จะง่ายขึ้นเยอะ (จริงๆนะ)

Stay Hungry. Stay Foolish.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้