ดูหนึ่งข้อความ
  #1  
Old 06 กุมภาพันธ์ 2010, 21:01
บัวขาว's Avatar
บัวขาว บัวขาว ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 03 กุมภาพันธ์ 2010
ข้อความ: 30
บัวขาว is on a distinguished road
Default โจทย์คณิตศาสตร์ที่ยากที่สุดในโลก

โจทย์สะท้านโลกข้อนี้ได้ถูกเกิดขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1637 โดย Pierre de Fermat นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส โดยเขาได้ตั้งข้อสังเกตจากสมการของ Pythagoras ที่กล่าวว่า a^2+b^2 เท่ากับ c^2 เมื่อ a และ b เป็นความยาวของด้านประกอบมุมฉากของสามเหลี่ยมทุกรูป คำตอบของสมการที่ได้จะเป็นจำนวนเต็มเสมอ เช่น ถ้า a = 3 และ b = 4 แล้ว c ก็ต้องเท่ากับ 5 เพราะ 3^2 + 4^2 = 5^2 แต่ถ้าหาก เรามีสมการเป็น a^n + b^n = c^n และ n เป็นจำนวนเต็มที่มีค่ามากกว่า 2 คือเป็น 3,4,5,6,7... แล้ว เราจะไม่สามารถหาคำตอบของสมการที่เป็นจำนวนเต็มได้เลย เช่น ถ้า n = 7 คำตอบที่ได้จากสมการ a^7 + b^7 = c^7 จะไม่มีคำตอบที่ a b และ c เป็นจำนวนเต็มเลย ดังนั้นจึงเป็นเรื่องน่าประหลาดในกรณีที่ n = 2 เราจะได้ a,b,c ที่เป็นจำนวนเต็ม แต่ถ้า n > 2 เมื่อไหร่คำตอบจะไม่ใช่จำนวนเต็มทันที

คำถามของโจทย์สุดพิศดารข้อนี้ก็คือ ทำไม? มันจึงเป็นเช่นนั้น จงพิสูจน์

เป็นเวลานานกว่า 300 ปีแล้วทีไม่มีใครหรืออะไรก็ตามที่จะสามารถไขปริศนานี้ออก เพื่อน ๆ คนไหนเก่ง ๆ ก็ลองคิดดูนะ รางวัลโนเบล รอคุณอยู่

ป.ล.รางวัลโนเบลไม่มีสาขาคณิตศาสตร์นะ แล้ววันหลังจะมาบอกว่าทำไม?

ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้