ดูหนึ่งข้อความ
  #51  
Old 17 พฤศจิกายน 2010, 13:39
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default



มาพิจารณา$3\sqrt{\cos(\pi \sqrt{x^2+7} )-1} $ ซึ่ง $\cos(\pi \sqrt{x^2+7} )-1 \geqslant 0$

$\cos(\pi \sqrt{x^2+7} ) \geqslant 1$ แต่$-1 \leqslant cos\theta \leqslant 1$

ดังนั้น$\cos(\pi \sqrt{x^2+7} )=1 =cos0,cos2n\pi$

แต่$\sqrt{x^2+7} >0$ ดังนั้น $\cos(\pi \sqrt{x^2+7} ) = cos2n\pi$

$\sqrt{x^2+7} = 2n$.....เก็บไว้ก่อน

สมการจะเหลือแค่ $log_2(-x^2+7x-10)=1$

$-x^2+7x-10=2 \rightarrow x^2-7x+12=0 $

$(x-3)(x-4)=0 \rightarrow x=3,4$

จากเงื่อนไขของ$log$ ดังนั้น$-x^2+7x-10 >0 \rightarrow x^2-7x+10<0$

$(x-2)(x-5)<0 \rightarrow 2<x<5$

ค่า$x$ ที่หามาได้จากสมการของlogใช้ได้ นำค่า$x$ที่ได้ไปแทนในสมการของ$cos$
มีค่า$x$ สอดคล้องกับ $\sqrt{x^2+7} = 2n$ คือ $x=3$ ได้ค่า$n=2$
ส่วนค่า $x=4$ ใช้ไม่ได้
ดังนั้น $B=\left\{\,3\right\} $
ผลบวกของสมาชิกในเซต $B$ เท่ากับ $3$
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้