ดูหนึ่งข้อความ
  #6  
Old 15 กรกฎาคม 2011, 19:35
Influenza_Mathematics's Avatar
Influenza_Mathematics Influenza_Mathematics ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 27 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 568
Influenza_Mathematics is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Puriwatt View Post
นำความต้านทานขนาด 100 โอห์ม 1 วัตต์ และ 220 โอห์ม 2 วัตต์ มาต่อขนานกันจะทนกำลังไฟฟ้าได้สูงสุดกี่วัตต์

จากสูตร $P=I^2R=VI = \frac{V^2}{R}$ --> จะได้ $V^2 = PR$
$V_{1,max} =\sqrt{P_1\cdot R_1} = \sqrt{1\cdot 100} = 10$ โวลท์
$V_{2,max} =\sqrt{P_2\cdot R_2} = \sqrt{2\cdot 220} \approx 21 $ โวลท์
** ดังนั้นค่าความต่างศักย์ที่วิกฤติเมื่อต่อแบบขนานกัน คือ 10 โวลท์ **

จากสูตร $\frac{1}{R_T} = \frac{1}{100}+\frac{1}{220}$ --> คูณด้วย $V^2$ จะได้ $\frac{V^2}{R_T} = \frac{V^2}{100}+\frac{V^2}{220}$
แต่ $P_T=\frac{V^2}{R_T} = \frac{10^2}{100}+\frac{10^2}{220} = 1 +\frac{5}{11} \approx 1.45$ วัตต์
ทำไมผมทำแบบนี้ไม่ได้อ่าครับ
คือ หา I ของแต่ละเส้นโดยใช้ $P = I^2R$

แล้วก็ใช้สูตร $P_{รวม} = I^2_{รวม} * R_{รวม}$

แล้วค่าความต่างศักย์วิกฤตคืออะไรครับ ทำไมต้องเท่ากับ 10 V ด้วย
__________________
ขว้างมุขเสี่ยว ๆ ใส่กันน่าจะมันแฮะ

15 กรกฎาคม 2011 19:41 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Influenza_Mathematics
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้