Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 21 พฤศจิกายน 2011, 21:43
'' ALGEBRA '''s Avatar
'' ALGEBRA '' '' ALGEBRA '' ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 มกราคม 2011
ข้อความ: 70
'' ALGEBRA '' is on a distinguished road
Default โจทย์ที่แก้ไม่ได้ด้วยวิธีปกติ(หรือได้แต่ไม่ได้อยากให้ทำ)

$1.****แก้ไม่ได้ด้วยวิธีปกติ(หรือได้แต่ไม่ได้อยากให้ทำ)$
$5(\sqrt{1-x}+\sqrt{1+x} ) = 6x + 8\sqrt{1-x^2}$
$2.$
$4,49,4489,444889,44448889,...$ จงหาสูตรที่เป็นกำลังสองสมบูรณ์
เพิ่ม $
$49,4489,444889,44448889,...$ จงหาสูตรที่เป็นกำลังสองสมบูรณ์
$3.$
$x^4-18x^3+kx^2+200x-1984=0$ ผลคูณของราก2ตัวเป็น-32 จงหาค่าk
$4.$
กำหนด $a_n = \frac{2n+1}{2553^n}$ และ $b_n = a_1+a_2+a_3+...+a_n$สำหรับ $n=1,2,3,... $จงหาค่าของ $2552a_{2010} + 2552^2b_{2010} + \frac{2}{2553^{2009}}$
$5.$
ถ้า $e^{-x} = \sum_{n = 0}^{\infty} \frac{(-1)^{n}x^n}{n!}$แล้วผลต่างระหว่างสัมประสิทธิ์ของ$x^2$ใน$\sum_{k = 0}^{8}e^{(2^k+1)x}$ กับ $2^{11}+2^{13}+2^{15}$ มีค่าเท่าใด
$6.$
$\sum_{i = 0}^{2553}\frac{2^{i+2}}{i+2}\binom{2554}{i+1}$ มีค่าเท่าใด

หาโจทย์แปลกๆมาให้ลองทำกันดูนะคับ

22 พฤศจิกายน 2011 20:47 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ '' ALGEBRA ''
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 21 พฤศจิกายน 2011, 22:42
PP_nine's Avatar
PP_nine PP_nine ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 เมษายน 2010
ข้อความ: 607
PP_nine is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ '' ALGEBRA '' View Post
$2.$
$4,49,4489,444889,44448889,...$ จงหาสูตรที่เป็นกำลังสองสมบูรณ์
ทำข้อง่ายสุดก่อนละกัน รู้สึกจะเป็นโจทย์เก่าค่าย 1 ของ กทม.

สำหรับ $n \ge 2$ เมื่อให้ลำดับดังกล่าวคือ $(a_n)$ แล้ว จัดรูปปกติเป็น
$$a_n-1=4(10^{2n-3}+10^{2n-1}+...+10^{n-1})+8(10^{n-2}+10^{n-3}+...+1)$$
$$a_n-1=4 \cdot 10^{n-1}(10^{n-2}+10^{n-1}+...+1)+8(10^{n-2}+10^{n-3}+...+1)$$
$$a_n-1=\Big( \frac{10^{n-1}-1}{10-1} \Big) ( 4\cdot 10^{n-1}+8)$$
$$a_n=\frac{1}{9}( 4(10^{2n-2})+4(10^{n-1})+1)$$
$$a_n=\Big( \frac{2\cdot 10^{n-1}+1}{3} \Big) ^2$$
ซึ่งเราพิสูจน์ได้ไม่ยากว่าทุกจำนวนนับ $n$,
$$ 2\cdot 10^{n-1}+1 \equiv 0 (mod3)$$
__________________
keep your way.

22 พฤศจิกายน 2011 00:22 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ PP_nine
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 21 พฤศจิกายน 2011, 23:06
Real Matrik's Avatar
Real Matrik Real Matrik ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 พฤษภาคม 2011
ข้อความ: 386
Real Matrik is on a distinguished road
Default

#2 จริงเฉพาะกรณี $n\geq2$ หรือเปล่าครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 21 พฤศจิกายน 2011, 23:26
'' ALGEBRA '''s Avatar
'' ALGEBRA '' '' ALGEBRA '' ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 มกราคม 2011
ข้อความ: 70
'' ALGEBRA '' is on a distinguished road
Default

คุณ PP_nine โซ้ยแล้วคับ เหอะๆ
ตอนแรกผมคิดนานมากเกือบจะท้อแร้วคับแต่เหนว่ามันสวยดีเลยอยากคิดต่อ
ลองดูวิธีของผมนะคับ

$49,4489,444889,44448889,...$

$9+(\underbrace{8\bullet 10+8\bullet 10^2+...+8\bullet 10^n}_{n} ) + (\underbrace{4\bullet 10^{n+1}+4\bullet 10^{n+2}+...+4\bullet 10^{n+n}+4\bullet 10^{n+n+1}}_{n+1})$

$9+(8\bullet 10+8\bullet 10^2+...+8\bullet 10^n+4\bullet 10^{n+1}+4\bullet 10^{n+2}+...+4\bullet 10^{2n}+4\bullet 10^{2n+1})$

$1+4(1+10+10^2+...+10^n)+4(1+10+10^2+...+10^n+10^{n+1}+...+10^{n+n}+10^{2n+1})$

$1+4\bullet \frac{10^{n+1}-1}{10-1}+4\bullet \frac{10^{2n+2}-1}{10-1}$

$\frac{4\bullet 10^{2n+2}+4\bullet 10^{2n+1}+1}{9}$

$\therefore \left(\frac{2\bullet 10^{n+1}+1}{3}\right)^2$ $; n= 0,1,2,...$
#

ผิดตรงไหนก้อบอกผมด้วยนะคับ

22 พฤศจิกายน 2011 20:49 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 3 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ '' ALGEBRA ''
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 22 พฤศจิกายน 2011, 00:22
PP_nine's Avatar
PP_nine PP_nine ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 เมษายน 2010
ข้อความ: 607
PP_nine is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Real Matrik View Post
#2 จริงเฉพาะกรณี $n\geq2$ หรือเปล่าครับ
โอ๊ะลืมไปเลย เพราะตัวแรกมันไม่ได้ลงท้ายด้วย 9 นี่นา

แก้ให้แล้วครับ ขอบคุณมากที่เตือนครับๆ
__________________
keep your way.

22 พฤศจิกายน 2011 00:23 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ PP_nine
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 22 พฤศจิกายน 2011, 00:55
Amankris's Avatar
Amankris Amankris ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,492
Amankris is on a distinguished road
Default

ข้อแรกผมเคยทำแล้วนะ
C L I C K
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 22 พฤศจิกายน 2011, 01:14
AnDroMeDa's Avatar
AnDroMeDa AnDroMeDa ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 ตุลาคม 2011
ข้อความ: 114
AnDroMeDa is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ '' ALGEBRA '' View Post
$1.****แก้ไม่ได้ด้วยวิธีปกติ(หรือได้แต่ไม่ได้อยากให้ทำ)$
$5(\sqrt{1-x}+\sqrt{1+x} ) = 6x + 8\sqrt{1-x^2}$
เนื่องจาก $1\geqslant x\geqslant -1$ ให้ $x=cos\theta $จะได้สมการสมมูลกับ
$$5(\sqrt{1-cos\theta }+\sqrt{1+cos\theta } ) = 6cos\theta + 8sin\theta \Leftrightarrow 25(2+2sin\theta )=(36+28sin^2\theta +96sin\theta cos\theta )\Leftrightarrow 7+25sin\theta -14sin^2\theta=48sin\theta \sqrt{1-sin^2\theta } $$
ยกกำลังสองได้$$(25sin\theta -7)(25sin3\theta +7)=0 \Rightarrow sin\theta =\frac{7}{25} \Rightarrow x=cos\theta =\frac{24}{25} $$
หมายเหตุ$ (25sin3\theta +7)=0$ หาคำตอบได้เน่ามากครับ

22 พฤศจิกายน 2011 01:15 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ AnDroMeDa
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 22 พฤศจิกายน 2011, 14:01
BLACK-Dragon's Avatar
BLACK-Dragon BLACK-Dragon ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 04 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 719
BLACK-Dragon is on a distinguished road
Talking

3.

อย่างแรกที่เราสามารถหาไ้ด้คือ $cd=62$

$abc+abd+acd+bcd=-200$

$a+b= \dfrac{188}{47}$ และจะได้ $c+d=14$

พิจารณา $ab+bc+ca+cd+da+bd=k$

$ab+cd+(a+b)(c+d)=k$

$\therefore k=86$

4.

พิจารณาค่าของ $b_{2010}$

$b_{2010} = \dfrac{3}{2553}+\dfrac{5}{2553^2}+...+\dfrac{4021}{2553^{2010}}$

$\dfrac{2552}{2553}b_{2010} = \dfrac{3}{2553}-\dfrac{4021}{2553^{2011}}+2\left(\,\dfrac{1}{2553^2}+\dfrac{1}{2553^3}+...+\dfrac{1}{2553^{2010}} \right)= \dfrac{3}{2553}-\dfrac{4021}{2553^{2011}}+2\left(\,\dfrac{2553^{2009}-1}{2552 \cdot 2553^{2010}}\right) $

$2552^2b_{2010} = 3\cdot 2552-2552\cdot \dfrac{4021}{2553^{2010}}+\dfrac{2\cdot 2553^{2009}-2}{2553^{2009}}$

$\therefore 2552a_{2010} + 2552^2b_{2010} + \dfrac{2}{2553^{2009}}=7658$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #9  
Old 22 พฤศจิกายน 2011, 17:36
'' ALGEBRA '''s Avatar
'' ALGEBRA '' '' ALGEBRA '' ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 มกราคม 2011
ข้อความ: 70
'' ALGEBRA '' is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ AnDroMeDa View Post
เนื่องจาก $1\geqslant x\geqslant -1$ ให้ $x=cos\theta $จะได้สมการสมมูลกับ
$$5(\sqrt{1-cos\theta }+\sqrt{1+cos\theta } ) = 6cos\theta + 8sin\theta \Leftrightarrow 25(2+2sin\theta )=(36+28sin^2\theta +96sin\theta cos\theta )\Leftrightarrow 7+25sin\theta -14sin^2\theta=48sin\theta \sqrt{1-sin^2\theta } $$
ยกกำลังสองได้$$(25sin\theta -7)(25sin3\theta +7)=0 \Rightarrow sin\theta =\frac{7}{25} \Rightarrow x=cos\theta =\frac{24}{25} $$
หมายเหตุ$ (25sin3\theta +7)=0$ หาคำตอบได้เน่ามากครับ
ถูกต้องแร้วคับ วิธีของผมใช้ตรีโกณเหมือนกันยาวมากๆ นี่ถือว่าเป็นวิธีที่กระชับมากเลยนะคับ

22 พฤศจิกายน 2011 17:38 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ '' ALGEBRA ''
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #10  
Old 22 พฤศจิกายน 2011, 20:44
'' ALGEBRA '''s Avatar
'' ALGEBRA '' '' ALGEBRA '' ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 มกราคม 2011
ข้อความ: 70
'' ALGEBRA '' is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ PP_nine View Post
ทำข้อง่ายสุดก่อนละกัน รู้สึกจะเป็นโจทย์เก่าค่าย 1 ของ กทม.

สำหรับ $n \ge 2$ เมื่อให้ลำดับดังกล่าวคือ $(a_n)$ แล้ว จัดรูปปกติเป็น
$$a_n-1=4(10^{2n-3}+10^{2n-1}+...+10^{n-1})+8(10^{n-2}+10^{n-3}+...+1)$$
$$a_n-1=4 \cdot 10^{n-1}(10^{n-2}+10^{n-1}+...+1)+8(10^{n-2}+10^{n-3}+...+1)$$
$$a_n-1=\Big( \frac{10^{n-1}-1}{10-1} \Big) ( 4\cdot 10^{n-1}+8)$$
$$a_n=\frac{1}{9}( 4(10^{2n-2})+4(10^{n-1})+1)$$
$$a_n=\Big( \frac{2\cdot 10^{n-1}+1}{3} \Big) ^2$$
ซึ่งเราพิสูจน์ได้ไม่ยากว่าทุกจำนวนนับ $n$,
$$ 2\cdot 10^{n-1}+1 \equiv 0 (mod3)$$
ผมต้องขอโทดคุณPP_nine จิงๆเลยนะคับคือว่าผมผิดโจทย์ผิดจิงๆต้องเป็น 49,4489,...
แต่คุนก้อยังทำต่อไปได้แล้วออกด้วยสุดยอดมากเลย ผมต้องขอโทดจิงๆนะคับ (พอดีเพิ่งมาเห็นคับ)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #11  
Old 22 พฤศจิกายน 2011, 21:34
PP_nine's Avatar
PP_nine PP_nine ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 เมษายน 2010
ข้อความ: 607
PP_nine is on a distinguished road
Default

ไม่เป็นไรหรอกครับๆ ผมเองก็ลืมนึกถึงตัวแรกไปเลย
__________________
keep your way.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #12  
Old 22 พฤศจิกายน 2011, 21:41
'' ALGEBRA '''s Avatar
'' ALGEBRA '' '' ALGEBRA '' ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 มกราคม 2011
ข้อความ: 70
'' ALGEBRA '' is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ PP_nine View Post
ไม่เป็นไรหรอกครับๆ ผมเองก็ลืมนึกถึงตัวแรกไปเลย
ผมเคยมีประสบการณ์ที่เพื่อนให้โจทย์มาผิดแล้วคิดอยู่ครึ่งวันก้อไม่ออก
ผมเซ็งมาก!!! แต่ก้อไม่เป็นไร เลยฝังใจเก็บเอาไว้ว่าจะพยายามไม่ให้โจทย์เพื่อนผิดคับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #13  
Old 22 พฤศจิกายน 2011, 22:18
AnDroMeDa's Avatar
AnDroMeDa AnDroMeDa ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 ตุลาคม 2011
ข้อความ: 114
AnDroMeDa is on a distinguished road
Default

ข้อ 6 ดูข้างล่างนะ

23 พฤศจิกายน 2011 01:17 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ AnDroMeDa
เหตุผล: คำตอบผิด+พิมพ์ผิด
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #14  
Old 22 พฤศจิกายน 2011, 23:56
PP_nine's Avatar
PP_nine PP_nine ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 เมษายน 2010
ข้อความ: 607
PP_nine is on a distinguished road
Default

#13 คำถามไม่ติด $r$ นี่ครับ

ที่ผมทดได้
$$\frac{3^{2555}}{2555}-2$$
__________________
keep your way.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #15  
Old 23 พฤศจิกายน 2011, 01:16
AnDroMeDa's Avatar
AnDroMeDa AnDroMeDa ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 ตุลาคม 2011
ข้อความ: 114
AnDroMeDa is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ '' ALGEBRA '' View Post
$6.$
$\sum_{i = 0}^{2553}\frac{2^{i+2}}{i+2}\binom{2554}{i+1}$ มีค่าเท่าใด
ขอแก้ตัวหน่อยนะ จะหาค่าของ
$$\sum_{i = 0}^{n}\frac{2^{i+2}}{i+2}\binom{n+1}{i+1}=\frac{1}{n+2}\sum_{i = 0}^{n}2^{i+2}\frac{n+2}{i+2}\binom{n+1}{i+1}=\frac{1}{n+2}\sum_{i = 0}^{n}\binom{n+2}{i+2}2^{i+2} $$
แต่$(1+x)^k=\sum_{r=0}^{\infty}\binom{k}{r}x^r $ จะได้ว่า
$$\frac{1}{n+2}\sum_{i = 0}^{n}\binom{n+2}{i+2}2^{i+2}=\frac{1}{n+2}((\sum_{i + 2=0 }^{n}\binom{n+2}{i+2}2^{i+2})-\binom{n+2}{1}2^1-\binom{n+2}{0}2^0 )= \frac{1}{n+2}(3^{n+2}-2(n+2)-1) $$
แทนค่า $n=2553$ จะได้ $$\sum_{i = 0}^{2553}\frac{2^{i+2}}{i+2}\binom{2554}{i+1}= \frac{1}{2555}(3^{2555}-5111) $$
ถูกไหมเช็คให้หน่อยครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 23:04


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha