Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 11 พฤษภาคม 2009, 13:12
B บ ....'s Avatar
B บ .... B บ .... ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 ตุลาคม 2008
ข้อความ: 251
B บ .... is on a distinguished road
Icon22 อนุกรมอนันต์ ช่วยทีครับ

\sum_{n = 1}^{\infty}[sin (n\pi - \pi /2) + (-1)ยกกำลัง n+1 ทั้งหมดส่วน (-1) ยกกำลัง n+2 คูณ -3]ทั้งหมดยกกำลัง n
ใครคิดได้ช่วยคิดให้ดูหน่อยครับ คิดแล้วแต่งง โดยเฉพาะตรง ค่า sin มันเหมือนมันได้ 1 สลับกับ -1 แล้วจะเลือกใช้ค่าไหน ? ครับ
__________________
เรื่อยๆ เฉื่อยๆ

11 พฤษภาคม 2009 13:30 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ B บ ....
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 11 พฤษภาคม 2009, 13:29
Ne[S]zA's Avatar
Ne[S]zA Ne[S]zA ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 กรกฎาคม 2008
ข้อความ: 1,221
Ne[S]zA is on a distinguished road
Default

งงกับโจทย์ครับแบบนี้ไหมครับ
$$\sum_{n=1}^{\infty } [\dfrac{\sin (n\pi-\frac{\pi}{2})+(-1)^{n+1}}{(-3)(-1)^{n+2}}]^n$$
__________________
||!<<<<iNesZaii>>>>!||
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 11 พฤษภาคม 2009, 13:31
B บ ....'s Avatar
B บ .... B บ .... ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 ตุลาคม 2008
ข้อความ: 251
B บ .... is on a distinguished road
Default

ใช่ครับบบบ
__________________
เรื่อยๆ เฉื่อยๆ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 11 พฤษภาคม 2009, 13:35
Ne[S]zA's Avatar
Ne[S]zA Ne[S]zA ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 กรกฎาคม 2008
ข้อความ: 1,221
Ne[S]zA is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ B บ .... View Post
ใช่ครับบบบ
ผมเก่งที่เดาโจทย์ถูกแต่ไม่เก่งพอที่จะแก้ข้อนี้ รอท่านอื่นมาคิดครับ
__________________
||!<<<<iNesZaii>>>>!||
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 11 พฤษภาคม 2009, 13:38
B บ ....'s Avatar
B บ .... B บ .... ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 ตุลาคม 2008
ข้อความ: 251
B บ .... is on a distinguished road
Default

อ้อ ไม่เป็นไร ขอบคุณ คราบบบบ

ใครคิดได้ ช่วยหน่อยย
__________________
เรื่อยๆ เฉื่อยๆ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 11 พฤษภาคม 2009, 13:39
owlpenguin's Avatar
owlpenguin owlpenguin ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 มีนาคม 2008
ข้อความ: 386
owlpenguin is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Ne[S]zA View Post
งงกับโจทย์ครับแบบนี้ไหมครับ
$$\sum_{n=1}^{\infty } [\dfrac{\sin (n\pi-\frac{\pi}{2})+(-1)^{n+1}}{(-3)(-1)^{n+2}}]^n$$
สังเกตว่า $\sin{\left(n\pi-\frac{\pi}{2}\right)}=(-1)^{n+1}$
$\displaystyle\therefore\sum_{n=1}^{\infty } [\dfrac{\sin (n\pi-\frac{\pi}{2})+(-1)^{n+1}}{(-3)(-1)^{n+2}}]^n=\sum_{n=1}^{\infty } \left(\frac{2}{3}\right)^n=2$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 11 พฤษภาคม 2009, 13:43
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

ไม่ยากอย่างที่คิดครับ แปลง เทอมที่มี $sine$ ให้ออกก็ได้แล้วล่ะครับ
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 11 พฤษภาคม 2009, 13:48
Ne[S]zA's Avatar
Ne[S]zA Ne[S]zA ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 กรกฎาคม 2008
ข้อความ: 1,221
Ne[S]zA is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ B บ .... View Post
อ้อ ไม่เป็นไร ขอบคุณ คราบบบบ

ใครคิดได้ ช่วยหน่อยย
ผมนึกออกแล้วครับ
ลองแทนค่า
$$n=1;[\dfrac{\sin (\pi-\frac{\pi}{2})+1}{(-3)(-1)}]^1=\frac{2}{3}$$
$$n=2;[\dfrac{\sin (2\pi-\frac{\pi}{2})-1}{(-3)(1)}]^2=(\frac{2}{3})^2$$
$$n=3;[\dfrac{\sin (3\pi-\frac{\pi}{2})+1}{(-3)(-1)}]^3=(\frac{2}{3})^3$$
$$.$$
$$.$$
$$.$$
ได้ว่า
$$\sum_{n=1}^{\infty} [\dfrac{\sin (n\pi-\frac{\pi}{2})+(-1)^{n+1}}{(-3)(-1)^{n+2}}]^n=\frac{2}{3}+(\frac{2}{3})^2+(\frac{2}{3})^3+...$$
$$S_{\infty }=\frac{2}{3}+(\frac{2}{3})^2+(\frac{2}{3})^3+...$$
จากสูตร $S_{\infty}=\dfrac{a_1}{1-r}$
ได้ว่า $a_1=\frac{2}{3} $ และ $r=\frac{2}{3}$
ดังนั้น
$$S_{\infty }=\frac{2}{3}+(\frac{2}{3})^2+(\frac{2}{3})^3+...=\dfrac{\frac{2}{3}}{1-\frac{2}{3}}=2$$
$$\therefore \sum_{n=1}^{\infty} [\dfrac{\sin (n\pi-\frac{\pi}{2})+(-1)^{n+1}}{(-3)(-1)^{n+2}}]^n=2$$
ปล.ไม่ทราบว่าถูกไหมนะครับ
__________________
||!<<<<iNesZaii>>>>!||
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #9  
Old 11 พฤษภาคม 2009, 19:55
B บ ....'s Avatar
B บ .... B บ .... ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 ตุลาคม 2008
ข้อความ: 251
B บ .... is on a distinguished road
Default

อ้อ จริงแทนค่่าเรื่อยๆทีละ n ก็ออกนิครับ 555+ แย่จัง
ทีแรกงง เพราะ ดูค่า sin มันสลับระหว่าง 1 กับ -1 เลยนึว่ามันจาเป็น Divergent
จึงไม่ได้สนใจแทนส่วนอื่นของโจทย์
__________________
เรื่อยๆ เฉื่อยๆ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 10:45


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha