Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์ทั่วไป > ปัญหาคณิตศาสตร์ทั่วไป
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 15 มกราคม 2010, 09:35
Ne[S]zA's Avatar
Ne[S]zA Ne[S]zA ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 กรกฎาคม 2008
ข้อความ: 1,221
Ne[S]zA is on a distinguished road
Default ช่วยพิสูจน์หน่อยครับ

ให้ $\dfrac{r_2}{r_1}=\dfrac{\sqrt{3}}{\sqrt{3}+1}$ $,$ $\dfrac{r_3}{r_2}=\dfrac{\sqrt{3}+1}{\sqrt{3}+2}$ $,$ $\dfrac{r_4}{r_3}=\dfrac{\sqrt{3}+2}{\sqrt{3}+3}$ $,$ $...$ จงพิสูจน์ว่า $\dfrac{r_k}{r_{k-1}}=\dfrac{\sqrt{3}+k-2}{\sqrt{3}+k-1}$ สำหรับทุกๆจำนวนเต็มบวก $k$ โดย $k\geqslant 2$
พิสูจน์โดยวิธีใดก็ได้นะครับ (อุปนัย,...)
ขอบคุณล่วงหน้าครับ
__________________
||!<<<<iNesZaii>>>>!||
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 19 มกราคม 2010, 21:08
Ne[S]zA's Avatar
Ne[S]zA Ne[S]zA ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 กรกฎาคม 2008
ข้อความ: 1,221
Ne[S]zA is on a distinguished road
Default

มีใครช่วยได้บ้างคร้าบบบบ
__________________
||!<<<<iNesZaii>>>>!||
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 20 มกราคม 2010, 22:33
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

คิดว่าพิสูจน์ไม่ได้ครับ เพราะโจทย์ไม่ได้บอกความสัมพันธ์ทั่วไปมาให้

โจทย์น่าจะให้เดาคำตอบทั่วไปมากกว่าครับ
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 21 มกราคม 2010, 17:05
Ne[S]zA's Avatar
Ne[S]zA Ne[S]zA ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 กรกฎาคม 2008
ข้อความ: 1,221
Ne[S]zA is on a distinguished road
Default

งั้นถามแบบนี้ครับ
จงหาพจน์ที่ n ของลำดับ
$$ \dfrac{\sqrt{3}-3}{-2},\sqrt{3}-1,\dfrac{\sqrt{3}+3}{6},\dfrac{\sqrt{3}+9}{13},\dfrac{\sqrt{3}+17}{22},\dfrac{\sqrt{3}+33}{33},...$$
ใครก็ได้ช่วยหน่อยครับ
ส่งพรุ่งนี้ละครับ TT
__________________
||!<<<<iNesZaii>>>>!||
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 21 มกราคม 2010, 19:38
LightLucifer's Avatar
LightLucifer LightLucifer ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 กันยายน 2008
ข้อความ: 2,352
LightLucifer is on a distinguished road
Default

ผมคิดว่าถ้าให้ $a_1=\frac{\sqrt{3}-3 }{-2}$
น่าจะได้ $a_n=\frac{\sqrt{3}+(n^2-n-3)}{n^2-3}$
__________________
เหนือฟ้ายังมีฟ้าแต่เหนือข้าต้องไม่มีใคร

ปีกขี้ผื้งของปลอมงั้นสินะ


...โลกนี้โหดร้ายจริงๆ มันให้ความสุขกับเรา แล้วสุดท้าย มันก็เอาคืนไป...

21 มกราคม 2010 20:06 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ LightLucifer
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 21 มกราคม 2010, 19:55
Ne[S]zA's Avatar
Ne[S]zA Ne[S]zA ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 กรกฎาคม 2008
ข้อความ: 1,221
Ne[S]zA is on a distinguished road
Default

$n=3$ ผิดอ่าครับ
__________________
||!<<<<iNesZaii>>>>!||
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 21 มกราคม 2010, 20:06
LightLucifer's Avatar
LightLucifer LightLucifer ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 กันยายน 2008
ข้อความ: 2,352
LightLucifer is on a distinguished road
Default

อ๋อใช่ครับๆผมคิดตัวเศษผิดเดี๋ยวแก้ให้ครับๆ
__________________
เหนือฟ้ายังมีฟ้าแต่เหนือข้าต้องไม่มีใคร

ปีกขี้ผื้งของปลอมงั้นสินะ


...โลกนี้โหดร้ายจริงๆ มันให้ความสุขกับเรา แล้วสุดท้าย มันก็เอาคืนไป...
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 21 มกราคม 2010, 20:42
หยินหยาง's Avatar
หยินหยาง หยินหยาง ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่จักรวาล
 
วันที่สมัครสมาชิก: 06 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,921
หยินหยาง is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Ne[S]zA View Post
งั้นถามแบบนี้ครับ
จงหาพจน์ที่ n ของลำดับ
$$ \dfrac{\sqrt{3}-3}{-2},\sqrt{3}-1,\dfrac{\sqrt{3}+3}{6},\dfrac{\sqrt{3}+9}{13},\dfrac{\sqrt{3}+17}{22},\color {red}{\dfrac{\sqrt{3}+33}{33}},...$$
ใครก็ได้ช่วยหน่อยครับ
ส่งพรุ่งนี้ละครับ TT
ผมว่าตรงสีแดงน่าจะเป็น $\frac{\sqrt{3}+\color {red}{27}}{33}$ อย่างนี้หรือเปล่าครับ ไม่งั้นรูปแบบอาจเป็นได้หลายแบบครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #9  
Old 21 มกราคม 2010, 20:49
Ne[S]zA's Avatar
Ne[S]zA Ne[S]zA ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 กรกฎาคม 2008
ข้อความ: 1,221
Ne[S]zA is on a distinguished road
Default

เอ่อ ใช่ๆครับ ต้องเป็น $\dfrac{\sqrt{3}+27}{33}$ โทษทีครับ ขอช่วยอีกครั้งครับ
ขอวิธีคิดด้วยนะครับ TT
__________________
||!<<<<iNesZaii>>>>!||

21 มกราคม 2010 20:51 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Ne[S]zA
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #10  
Old 21 มกราคม 2010, 21:07
หยินหยาง's Avatar
หยินหยาง หยินหยาง ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่จักรวาล
 
วันที่สมัครสมาชิก: 06 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,921
หยินหยาง is on a distinguished road
Default

แนวคิด
จะเห็นว่าโจทย์สามารถจัดให้อยู่ในรูปของ $\frac{\sqrt{3}+a_i}{b_i}$ ถ้าหา $a_i$ และ $b_i$ ได้ ก็จบครับ

วิธีคิดก็สังเกตว่า มันจะอยู่ในรูปแบบของอนุกรมรวงผึ้งครับ หรือถ้าไม่อยากใช้สูตรก็ใช้วิธีใน สสวท. ม.5 ก็ได้ครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 03:05


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha