Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 25 พฤษภาคม 2009, 20:54
-InnoXenT-'s Avatar
-InnoXenT- -InnoXenT- ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 17 มิถุนายน 2008
ข้อความ: 487
-InnoXenT- is on a distinguished road
Default อนุกรมอนันต์

โจทย์นี้ เกิดจากการคิดเล่นๆของผมเอง ซึ่งโจทย์มีอยู่ว่า (ตัวผมเองยังไม่สามารถหาคำตอบได้ ยังหาอยู่)

กำหนดให้ $A_1$ เป็นอนุกรมอนันต์ ซึ่งหาค่าได้ และ


$\frac{2}{3}A_n = \frac{1}{3^{2n-1}}+A_{n+1}$ ทุกจำนวนเต็ม $n \geqslant 1$

ถามว่า สามารถ หาค่า $\lim_{n \to \infty} A_n$ และค่าที่แน่นอนของ $A_1$ ได้หรือไม่ และค่านั้นๆ มีค่าเท่ากับเท่าไร

เกิดจากการคิดเล่นๆของผมเอง ถ้าโจทย์ผิดพลาดประการใด ขอโทษด้วยครับ T T
__________________
เมื่อไรเราจะเก่งเลขน้าาาาาา ~~~~

T T

ไม่เก่งซักที ทำไงดี

25 พฤษภาคม 2009 21:38 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 3 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ -InnoXenT-
เหตุผล: พิมพ์ผิด T T
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 25 พฤษภาคม 2009, 21:13
beginner01 beginner01 ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าหยก
 
วันที่สมัครสมาชิก: 15 กันยายน 2008
ข้อความ: 177
beginner01 is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ -InnoXenT- View Post
โจทย์นี้ เกิดจากการคิดเล่นๆของผมเอง ซึ่งโจทย์มีอยู่ว่า (ตัวผมเองยังไม่สามารถหาคำตอบได้ ยังหาอยู่)

กำหนดให้ $A_1$ เป็นอนุกรมอนันต์ ซึ่งหาค่าได้ และ


$\frac{2}{3}A_n = \frac{1}{3^{2n-1}}+A_{n+1}$ ทุกจำนวนเต็ม $n \geqslant 1$

ถามว่า สามารถ หาค่า $A_{\infty}$ และค่าที่แน่นอนของ $A_1$ ได้หรือไม่ และค่านั้นๆ มีค่าเท่ากับเท่าไร

เกิดจากการคิดเล่นๆของผมเอง ถ้าโจทย์ผิดพลาดประการใด ขอโทษด้วยครับ T T
$A_1$ เป็นอนุกรมอนันต์ หมายความว่ายังไงครับ $A_1$ ไม่ใช่พจน์แรกเหรอครับ?
แล้วก็โดยปกติ คือในทางคณิตศาสตร์ เราไม่ถือว่า $\infty$ เป็นตัวเลข
ดังนั้นแทนที่จะเขียน $A_{\infty}$ เขียนว่า $\displaystyle\lim_{n\to\infty}A_n$ จะดีกว่าครับ
__________________
จะคิดเลขก็ติดขัด จะคิดรักก็ติดพัน
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 25 พฤษภาคม 2009, 21:38
-InnoXenT-'s Avatar
-InnoXenT- -InnoXenT- ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 17 มิถุนายน 2008
ข้อความ: 487
-InnoXenT- is on a distinguished road
Default

ถ้าจะให้ผมแก้ไข ผมก็งงๆตัวเองอยู่เหมือนกันว่า พิมพ์ออกมาได้ไง

ถ้าสมมติว่า $A_n$ เป็นลำดับของอนุกรมอนันต์

โดยที่ $A_{n+1} = \frac{2}{3}A_n - \frac{1}{3^{2n-1}}$ เมื่อ $n \geqslant 1$

จะเวิร์คกว่ามั๊ยครับ ส่วนเรื่อง lim ผมแก้ไขแล้ว
__________________
เมื่อไรเราจะเก่งเลขน้าาาาาา ~~~~

T T

ไม่เก่งซักที ทำไงดี

25 พฤษภาคม 2009 21:38 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ -InnoXenT-
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 25 พฤษภาคม 2009, 21:49
beginner01 beginner01 ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าหยก
 
วันที่สมัครสมาชิก: 15 กันยายน 2008
ข้อความ: 177
beginner01 is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ -InnoXenT- View Post
ถ้าจะให้ผมแก้ไข ผมก็งงๆตัวเองอยู่เหมือนกันว่า พิมพ์ออกมาได้ไง

ถ้าสมมติว่า $A_n$ เป็นลำดับของอนุกรมอนันต์

โดยที่ $A_{n+1} = \frac{2}{3}A_n - \frac{1}{3^{2n-1}}$ เมื่อ $n \geqslant 1$

จะเวิร์คกว่ามั๊ยครับ ส่วนเรื่อง lim ผมแก้ไขแล้ว
ก็... เท่าที่เคยเห็น เวลาจะเขียนถึงลำดับ เขาก็จะเขียนว่า $\displaystyle\left\{a_n\right\}_{n\in\mathbb{N}}$ หรือว่า $\displaystyle\left\{a_n\right\}_{n=1}^{\infty}$ กันครับ

แล้วก็ค่าที่แน่นอนของ $A_1$ หมายความว่ายังไงครับ ก็... ลำดับเรามันเริ่มด้วยอะไรก็ได้ $A_1$ ก็เป็นอะไรก็ได้ไม่ใช่เหรอครับ หรือว่าผมเข้าใจผิดเอง
__________________
จะคิดเลขก็ติดขัด จะคิดรักก็ติดพัน
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 25 พฤษภาคม 2009, 22:48
-InnoXenT-'s Avatar
-InnoXenT- -InnoXenT- ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 17 มิถุนายน 2008
ข้อความ: 487
-InnoXenT- is on a distinguished road
Default

จะว่าไปตอนคิด ก็ลืมนึกถึงค่า $A_1$ แฮะ

ขอโทษที่ทำให้เสียเวลาครับ
__________________
เมื่อไรเราจะเก่งเลขน้าาาาาา ~~~~

T T

ไม่เก่งซักที ทำไงดี
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 25 พฤษภาคม 2009, 23:21
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ -InnoXenT- View Post

ถ้าสมมติว่า $A_n$ เป็นลำดับของอนุกรมอนันต์

โดยที่ $A_{n+1} = \frac{2}{3}A_n - \frac{1}{3^{2n-1}}$ เมื่อ $n \geqslant 1$
มันก็ความสัมพันธ์เวียนบังเกิดธรรมดานี่แหละครับ เพราะอนุกรมถ้ามันลู่เข้ามันก็จำนวนจริงจำนวนหนึ่ง

จริงๆแล้วสามารถหาสูตรทั่วไปของ $A_n$ ได้ด้วยซ้ำ

แต่ถ้าอยากรู้แค่ลิมิตจะัได้ว่า

$\displaystyle{\lim_{n\to\infty}A_n}=0$
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 26 พฤษภาคม 2009, 00:03
-InnoXenT-'s Avatar
-InnoXenT- -InnoXenT- ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 17 มิถุนายน 2008
ข้อความ: 487
-InnoXenT- is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ nooonuii View Post
มันก็ความสัมพันธ์เวียนบังเกิดธรรมดานี่แหละครับ เพราะอนุกรมถ้ามันลู่เข้ามันก็จำนวนจริงจำนวนหนึ่ง

จริงๆแล้วสามารถหาสูตรทั่วไปของ $A_n$ ได้ด้วยซ้ำ

แต่ถ้าอยากรู้แค่ลิมิตจะัได้ว่า

$\displaystyle{\lim_{n\to\infty}A_n}=0$
แล้วมันแก้ยังไงเหรอครับ ความสัมพันธ์เวียนบังเกิดข้อนี้

คือ ผมมีหนังสือ ที่มีเนื้อหาเรื่องนี้เหมือนกัน แต่ทำไม่ค่อยได้เลยครับ
__________________
เมื่อไรเราจะเก่งเลขน้าาาาาา ~~~~

T T

ไม่เก่งซักที ทำไงดี
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 26 พฤษภาคม 2009, 01:43
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

ให้ $r,s\in (-1,1)$ และ $c\in\mathbb{R}$

นิยาม $A_{n+1}=rA_n+cs^n$

จะได้

$A_{n+1}=rA_n+cs^n$

$~~~~~~~=r^2A_{n-1}+c(s^n+rs^{n-1})$

$~~~~~~~=\cdots$

$~~~~~~~=r^nA_1+c(s^n+rs^{n-1}+\cdots + r^{n-1}s)$

$~~~~~~~=r^nA_1+cs(s^{n-1}+rs^{n-1}+\cdots +r^{n-2}s+r^{n-1})$

ถ้า $r=s$ จะได้

$~~~~~~~ A_{n+1}=r^nA_1+cnr^n$

$~~~~~~~~~~~~~~=r^n(A_1+cn)$

ถ้า $r\neq s$ จะได้

$~~~~~~~ A_{n+1}=r^nA_1+cs\Big(\dfrac{s^n-r^n}{s-r}\Big)$

ทั้งสองกรณีจะได้ $\displaystyle{\lim_{n\to\infty}A_n}=0$

ยิ่งกว่านั้น $\displaystyle{\sum_{n=1}^{\infty}A_n}$ ก็หาค่าได้
__________________
site:mathcenter.net คำค้น

26 พฤษภาคม 2009 01:57 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ nooonuii
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 23:28


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha