Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 20 เมษายน 2019, 23:56
Hutchjang Hutchjang ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 20 มกราคม 2013
ข้อความ: 101
Hutchjang is on a distinguished road
Default ตรีโกณ

Name:  2019-04-20_23-45-55.png
Views: 1179
Size:  12.2 KB

Attachment 19817

สองข้อนี้เราควรต้องทำยังไงครับ

21 เมษายน 2019 12:24 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Hutchjang
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 21 เมษายน 2019, 12:23
Hutchjang Hutchjang ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 20 มกราคม 2013
ข้อความ: 101
Hutchjang is on a distinguished road
Default

Name:  2019-04-21_12-13-51.png
Views: 1878
Size:  19.0 KB

ข้อถามเพิ่มอีกข้อ เกี่่ยวกับตรีโกณด้วยครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 21 เมษายน 2019, 17:15
Hutchjang Hutchjang ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 20 มกราคม 2013
ข้อความ: 101
Hutchjang is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Hutchjang View Post
ข้อนี้ถ้าลองเลือก สามเหลี่ยมมุมฉาก เช่น 3-4-5 มาแทนค่า มันก็จะได้คำตอบเลย แต่จะมีวิธีอื่นๆเช่น การจัดรูป อะไรอีกมั้ยครับ

21 เมษายน 2019 17:15 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Hutchjang
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 21 เมษายน 2019, 19:17
gon's Avatar
gon gon ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎขั้นสูง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 มีนาคม 2001
ข้อความ: 4,608
gon is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Hutchjang View Post
Attachment 19816

Attachment 19817

สองข้อนี้เราควรต้องทำยังไงครับ
มันเล่นที่ปลายขอบของเรนจ์ไงครับ

เห็นได้ชัดว่า cos x = sin y = cos z = 1 เท่านั้น

21 เมษายน 2019 19:17 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ gon
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 21 เมษายน 2019, 20:10
NaPrai's Avatar
NaPrai NaPrai ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าหยก
 
วันที่สมัครสมาชิก: 02 กุมภาพันธ์ 2017
ข้อความ: 174
NaPrai is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Hutchjang View Post
Attachment 19817

ข้อถามเพิ่มอีกข้อ เกี่่ยวกับตรีโกณด้วยครับ
เอ! ว่าแต่โจทย์ไม่เห็นกำหนดว่า $a,b,c$ คืออะไรเลย ในทีนี้ผมเดาว่า $a,b,c$ คือด้านตรงข้ามมุม $A,B,C$ ละกันนะครับ

ข้อนี้จุดหลัก ๆ คือการแปลง $\cos$ ในเทอมของด้าน $a,b,c$ โดยใช้กฎของ $\cos$ ครับ ลองคิดดูก่อนได้ครับ ถ้าคิดไม่ออกก็กดดูเฉลยได้ครับ

ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 21 เมษายน 2019, 20:49
Hutchjang Hutchjang ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 20 มกราคม 2013
ข้อความ: 101
Hutchjang is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ NaPrai View Post
เอ! ว่าแต่โจทย์ไม่เห็นกำหนดว่า $a,b,c$ คืออะไรเลย ในทีนี้ผมเดาว่า $a,b,c$ คือด้านตรงข้ามมุม $A,B,C$ ละกันนะครับ

ข้อนี้จุดหลัก ๆ คือการแปลง $\cos$ ในเทอมของด้าน $a,b,c$ โดยใช้กฎของ $\cos$ ครับ ลองคิดดูก่อนได้ครับ ถ้าคิดไม่ออกก็กดดูเฉลยได้ครับ

ขอบคุณครับ สุดยอดเลยครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 21 เมษายน 2019, 20:54
Hutchjang Hutchjang ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 20 มกราคม 2013
ข้อความ: 101
Hutchjang is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ gon View Post
มันเล่นที่ปลายขอบของเรนจ์ไงครับ

เห็นได้ชัดว่า cos x = sin y = cos z = 1 เท่านั้น
ขอบคุณ คุณอา Gon มากครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 23 เมษายน 2019, 22:21
Amankris's Avatar
Amankris Amankris ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,492
Amankris is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Hutchjang View Post
Attachment 19817

ข้อถามเพิ่มอีกข้อ เกี่่ยวกับตรีโกณด้วยครับ
ถ้าไม่อยากกระจายด้าน ก็ใช้ตรีโกณได้ครับ

ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #9  
Old 25 เมษายน 2019, 08:51
Hutchjang Hutchjang ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 20 มกราคม 2013
ข้อความ: 101
Hutchjang is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Amankris View Post
ถ้าไม่อยากกระจายด้าน ก็ใช้ตรีโกณได้ครับ

ขอบคุณมากครับ ผมรบกวนสอบถามเพิ่มหน่อยครับ พอดียังแกะไม่ออก ตรง sin(A+C)-sin(B+C) รบกวนอธิบายเพิ่มหน่อยครับ ว่ามาจากสูตรไหน แล้วทำไมถึงหารด้วย sin A - sin B แล้ว = -1 อันนี้ก็ยังไม่เข้าใจครับ

25 เมษายน 2019 08:51 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Hutchjang
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #10  
Old 22 พฤษภาคม 2019, 21:44
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

$\left(\dfrac{\cos A-\cos B}{a-b}\right)c+\cos C=\dfrac{(\cos A-\cos B)\sin C}{\sin A-\sin B}+\cos C$
$\left(\dfrac{\cos A-\cos B}{a-b}\right)c=\left(\dfrac{\cos A-\cos B}{\frac{a}{c} -\frac{b}{c} }\right)$
$\frac{\sin A}{a}=\frac{\sin B}{b} =\frac{\sin C}{c} $
$\frac{a}{c}=\frac{\sin A}{\sin B} ,\frac{b}{c}=\frac{\sin B}{\sin B} $

$\dfrac{(\cos A-\cos B)\sin C}{\sin A-\sin B}+\cos C=\dfrac{\left(\,\cos A \sin C+\sin A \cos C\right) -\left(\,\cos B\sin C+\sin B\cos C\right) }{\sin A-\sin B} $

$=\dfrac{\sin(A+C)-\sin(B+C)}{\sin A-\sin B}$

$A+B+C=180^o$

$\sin(A+C)-\sin(B+C) =\sin (180^o-B)-\sin (180^o-A)=\sin B-\sin A$
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #11  
Old 18 มิถุนายน 2019, 20:37
Hutchjang Hutchjang ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 20 มกราคม 2013
ข้อความ: 101
Hutchjang is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ กิตติ View Post
$\left(\dfrac{\cos A-\cos B}{a-b}\right)c+\cos C=\dfrac{(\cos A-\cos B)\sin C}{\sin A-\sin B}+\cos C$
$\left(\dfrac{\cos A-\cos B}{a-b}\right)c=\left(\dfrac{\cos A-\cos B}{\frac{a}{c} -\frac{b}{c} }\right)$
$\frac{\sin A}{a}=\frac{\sin B}{b} =\frac{\sin C}{c} $
$\frac{a}{c}=\frac{\sin A}{\sin B} ,\frac{b}{c}=\frac{\sin B}{\sin B} $

$\dfrac{(\cos A-\cos B)\sin C}{\sin A-\sin B}+\cos C=\dfrac{\left(\,\cos A \sin C+\sin A \cos C\right) -\left(\,\cos B\sin C+\sin B\cos C\right) }{\sin A-\sin B} $

$=\dfrac{\sin(A+C)-\sin(B+C)}{\sin A-\sin B}$

$A+B+C=180^o$

$\sin(A+C)-\sin(B+C) =\sin (180^o-B)-\sin (180^o-A)=\sin B-\sin A$
ขอบคุณครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 21:39


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha