Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > Mathcenter Contest > ปัญหาเก็บตก
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ค้นหา ข้อความวันนี้ ทำเครื่องหมายอ่านทุกห้องแล้ว

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #16  
Old 02 พฤษภาคม 2008, 10:17
dektep's Avatar
dektep dektep ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 07 มีนาคม 2007
ข้อความ: 580
dektep is on a distinguished road
Default

ข้อ $1.$
วิธีทำ เพื่อให้ไม่สับสนให้ $S=\Delta = พื้นที่ของสามเหลี่ยม ABC$
ดังนั้น $R=\frac{abc}{4\Delta},r=\frac{\Delta}{s}$
$\therefore Rr=\frac{abc}{4s}=\frac{abc}{2(a+b+c)}=LHS$
พิจารณาว่า $RHS=\frac{27}{(2s)^3}\sqrt{2{\Delta}^3}$ $=\frac{27}{(a+b+c)^3}\sqrt{2{\Delta}^3}$
$LHS \geq RHS \leftrightarrow \frac{abc}{2(a+b+c)} \geq \frac{27}{(a+b+c)^3}\sqrt{2{\Delta}^3}$
$\leftrightarrow (a+b+c)^2abc \geq 54\sqrt{2}\sqrt{{\Delta}^3}..............(*)$
พิจารณาว่า $a,b,c$ เป็นด้านของสามเหลี่ยมดังนั้น $a+b-c,b+c-a,c+a-b$ เป็นจำนวนจริงบวก
โดย $Am-Gm$ จะได้ว่า $\sqrt{(a+b-c)(b+c-a)} \leq \frac{(a+b-c)+(b+c-a)}{2} = b$
ในทำนองเดียวกันจะได้ว่า $\sqrt{(a+b-c)(a+c-b)} \leq a$ และ $\sqrt{(c+b-a)(a+c-b)} \leq c$
นำอสมการทั้งสามมาคูณกันจะได้ว่า $(a+b-c)(b+c-a)(c+a-b) \leq abc............(1)$
พิจารณา $\Delta = \sqrt{s(s-a)(s-b)(s-c)}=\sqrt{(\frac{a+b+c}{2})(\frac{a+b-c}{2})(\frac{a-b+c}{2})(\frac{b+c-a}{2})}.............(2)$
จาก $(1),(2)$ จะได้ว่า $\Delta \leq \sqrt{\frac{abc(a+b+c)}{2^4}}=\frac{1}{2^2}\sqrt{abc(a+b+c)} $
$\therefore \sqrt{{\Delta}^3} \leq \frac{1}{2^3}\sqrt[4]{(abc)^3(a+b+c)^3}$
$\therefore 54\sqrt{2}\sqrt{{\Delta}^3} \leq \frac{27\sqrt{2}}{4}\sqrt[4]{(abc)^3(a+b+c)^3}.............(3)$
โดยอสมการโคชีและเงื่อนไขโจทย์จะได้ว่า $1 \geq \frac{1}{a}+\frac{1}{b}+\frac{1}{c} \geq \frac{9}{a+b+c}$
ดังนั้น $a+b+c \geq 9.........(4) $
โดยอสมการ$Am-Gm$และเงื่อนไขโจทย์จะได้ว่า $1 \geq \frac{1}{a}+\frac{1}{b}+\frac{1}{c} \geq \frac{3}{\sqrt[3]{abc}}$ ดังนั้น $\sqrt[3]{abc} \geq 3 \therefore abc \geq 27.........(5)$
พิจารณา $(a+b+c)^2abc = (abc)^{\frac{3}{4}}(a+b+c)^{\frac{3}{4}}(a+b+c)^{\frac{5}{4}}(abc)^{\frac{1}{4}}$
โดย $(4),(5)$ จะได้ว่า
$(a+b+c)^2abc \geq (abc)^{\frac{3}{4}}(a+b+c)^{\frac{3}{4}}(9^{\frac{5}{4}})(27)^{\frac{1}{4}}.........(6)$
จาก $(6)$ , $(3)$ ,$9^{\frac{5}{4}}(27)^{\frac{1}{4}}>\frac{27\sqrt{2}}{4}$
จะได้ว่า $(a+b+c)^2abc > 54\sqrt{2}\sqrt{{\Delta}^3}............(7)$
จาก $(7),(*)$ จะได้ว่า $LHS > RHS$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #17  
Old 02 พฤษภาคม 2008, 11:17
Mathophile's Avatar
Mathophile Mathophile ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไว
 
วันที่สมัครสมาชิก: 31 มีนาคม 2007
ข้อความ: 250
Mathophile is on a distinguished road
Default

ข้อ 14
เพื่อความสะดวก ให้ $\sqrt[3]{7}=k$
ฉะนั้น $x=\frac{1}{2}(k-\frac{1}{k})$
และ $1+x^2=1+\frac{1}{4}(k^2+\frac{1}{k^2}-2)=\frac{1}{4}(k^2+\frac{1}{k^2}+2)=\frac{1}{4}(k+\frac{1}{k})^2$
ดังนั้น $\sqrt{1+x^2}=\frac{1}{2}(k+\frac{1}{k})$
ทำให้ $x+\sqrt{1+x^2}=\frac{1}{2}(k-\frac{1}{k})+\frac{1}{2}(k+\frac{1}{k})=k$
ฉะนั้น $(x+\sqrt{1+x^2})^3=k^3=7$


ข้อ 15
สำหรับเมตริกซ์ $X$ ใดๆ $X^{-1}=\frac{1}{\det X}adjX$
ฉะนั้น $(2B^{-1})^{-1}=\frac{1}{\det (2B^{-1})}adj(2B^{-1})$

พิจารณา $(2B^{-1})^{-1}=\frac{B}{2}$
และ $\frac{1}{\det (2B^{-1})}adj(2B^{-1})=\frac{1}{2^4\det B^{-1}}adj(2B^{-1})=\frac{\det B}{2^4}adj(2B^{-1})=\frac{adj(2B^{-1})}{2}$
ฉะนั้น $\frac{B}{2}=\frac{adj(2B^{-1})}{2}$ นั่นคือ $B=adj(2B^{-1})$

จาก $A(adj( 2B^{-1} ))-I=B$
จึงได้ $AB- I = B$
$I=AB-B=AB-IB=(A-I)B$
$\det I=\det ((A-I)B)=\det (A-I)\cdot \det B$
$1=8\det (A-I)$
$\therefore \det (A-I)=\frac{1}{8}$

02 พฤษภาคม 2008 11:28 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Mathophile
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #18  
Old 02 พฤษภาคม 2008, 13:12
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

dektep กวาด longlist ไปเกือบหมดเลยครับ


4.
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #19  
Old 02 พฤษภาคม 2008, 18:38
owlpenguin's Avatar
owlpenguin owlpenguin ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 มีนาคม 2008
ข้อความ: 386
owlpenguin is on a distinguished road
Default

1.

02 พฤษภาคม 2008 18:39 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ owlpenguin
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #20  
Old 02 พฤษภาคม 2008, 19:16
owlpenguin's Avatar
owlpenguin owlpenguin ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 มีนาคม 2008
ข้อความ: 386
owlpenguin is on a distinguished road
Default

3.
Note:ทำผิดครัับ

02 พฤษภาคม 2008 20:38 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 3 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ owlpenguin
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #21  
Old 02 พฤษภาคม 2008, 19:20
owlpenguin's Avatar
owlpenguin owlpenguin ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 มีนาคม 2008
ข้อความ: 386
owlpenguin is on a distinguished road
Default

9.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #22  
Old 02 พฤษภาคม 2008, 19:56
owlpenguin's Avatar
owlpenguin owlpenguin ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 มีนาคม 2008
ข้อความ: 386
owlpenguin is on a distinguished road
Default

16.

02 พฤษภาคม 2008 19:56 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ owlpenguin
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #23  
Old 02 พฤษภาคม 2008, 20:21
Art_ninja's Avatar
Art_ninja Art_ninja ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าหยก
 
วันที่สมัครสมาชิก: 31 มีนาคม 2007
ข้อความ: 184
Art_ninja is on a distinguished road
Default

มาเฉลยโจทย์ของผมเองครับ(จริงๆ แล้วผมเห็นคุณ owlpenguin ทำไม่ถูกน่ะครับเพราะว่าคำตอบข้อนี้มีถึง $30$ คำตอบด้วยกัน และแน่นอนว่า $0$ ก็เป็นคำตอบหนึ่ง)
3.$\rm (Longlist)$จงหาจำนวนจริง a ทั้งหมดที่ทำให้
$\displaystyle \left\lfloor\ \frac{a}{2} \right\rfloor+\left\lfloor\ \frac{a}{3} \right\rfloor+\left\lfloor\ \frac{a}{5} \right\rfloor = a$

วิธีทำ
เนื่องจาก $a$ เป็นจำนวนจริงใดๆ จึงสามารถที่จะเขียนได้ว่า
$a=30k+r$ เมื่อ $k \in \mathbb{Z}$ และ $0 \leq r<30$
นำไปเเทนค่าจะได้ว่า
$\left\lfloor\ \frac{30k+r}{2} \right\rfloor+\left\lfloor\ \frac{30k+r}{3} \right\rfloor+\left\lfloor\ \frac{30k+r}{5} \right\rfloor = 30k+r$
ดังนั้น
$k=r-\left\lfloor\ \frac{r}{2} \right\rfloor-\left\lfloor\ \frac{r}{3} \right\rfloor-\left\lfloor\ \frac{r}{5} \right\rfloor$
สมมติว่า $r \not\in \mathbb{Z}$
จะได้ว่า $k$ ไม่เป็นจำนวนเต็ม เกิดข้อขัดแย้ง
ดังนั้น $r \not\in \mathbb{Z}$
ซึ่งทำให้คำตอบของสมการนี้มีทั้งหมด $30$ คำตอบเนื่องจาก $r=0,1,2,3,...,29$
ดังนั้นคำตอบของสมการจะต้องอยู่ในเซต $A=\left\{\ 30k+r\left|\,\right.k=r-\left\lfloor\ \frac{r}{2} \right\rfloor-\left\lfloor\ \frac{r}{3} \right\rfloor-\left\lfloor\ \frac{r}{5} \right\rfloor , r=0,1,2,3,...,29 \right\}$

ป.ล.คุณ owlpenguin ทำยังไม่ถูกนะครับ ผมเดาว่าเป็นเพราะว่าคุณ owlpenguin ทำเป็น ceiling function รึเปล่าครับ
__________________
Defeat myself successfully is the most successful in my life...

02 พฤษภาคม 2008 20:23 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Art_ninja
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #24  
Old 02 พฤษภาคม 2008, 20:27
kanakon's Avatar
kanakon kanakon ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 31 ตุลาคม 2006
ข้อความ: 523
kanakon is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ dektep View Post
5. ให้ $A_1=\mu+\mu^3+\mu^4+\mu^{-4}+\mu^{-3}+\mu^{-1}=\mu+\mu^3+\mu^4+\mu^9+\mu^{10}+\mu^{12}$
$A_2=\mu^2+\mu^5+\mu^6+\mu^{-6}+\mu^{-5}+\mu^{-2}=\mu^2+\mu^5+\mu^6+\mu^7+\mu^8+\mu^{11}$
$A_1+A_2=-1$
$A_1\cdot A_2 = -3$
ดังนั้นสมการที่มี $A_1,A_2$ เป็นรากคือ $x^2+x-3=0$
สำหรับคำถามผมถูกแล้วครับ
__________________
ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ

$$|I-U|\rightarrow \infty $$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #25  
Old 02 พฤษภาคม 2008, 21:37
Anonymous314's Avatar
Anonymous314 Anonymous314 ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 16 มีนาคม 2008
ข้อความ: 546
Anonymous314 is on a distinguished road
Default

16.ครับ My Solution from imo shortlists 1979
รูปภาพที่แนบมาด้วย
 
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #26  
Old 04 พฤษภาคม 2008, 12:35
nongtum's Avatar
nongtum nongtum ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 เมษายน 2005
ข้อความ: 3,246
nongtum is on a distinguished road
Default

ลองๆเช็คดูเหลือข้อ 17 เท่านั้นที่ยังไม่มีคนทำ ใครอยากลองทำข้อนี้บ้างเอ่ย
__________________
คนไทยร่วมใจอย่าใช้ภาษาวิบัติ
ฝึกพิมพ์สัญลักษณ์สักนิด ชีวิต(คนตอบและคนถาม)จะง่ายขึ้นเยอะ (จริงๆนะ)

Stay Hungry. Stay Foolish.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #27  
Old 04 พฤษภาคม 2008, 17:15
owlpenguin's Avatar
owlpenguin owlpenguin ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 มีนาคม 2008
ข้อความ: 386
owlpenguin is on a distinguished road
Default

มันดูแปลกๆยังไงชอบกลอ่ะครับ เี่ดี๋ยวช่วยเช็คว่าผมผิดตรงไหนครับ
17.

04 พฤษภาคม 2008 17:20 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ owlpenguin
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #28  
Old 05 พฤษภาคม 2008, 01:27
nongtum's Avatar
nongtum nongtum ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 เมษายน 2005
ข้อความ: 3,246
nongtum is on a distinguished road
Default

เท่าที่ผมดูไม่น่าจะผิดนะครับ แต่เจ้าของโจทย์ใช้ inversion กับวงกลม $\omega$ สู่วงกลม $C_1,\ C_2$ ครับ
__________________
คนไทยร่วมใจอย่าใช้ภาษาวิบัติ
ฝึกพิมพ์สัญลักษณ์สักนิด ชีวิต(คนตอบและคนถาม)จะง่ายขึ้นเยอะ (จริงๆนะ)

Stay Hungry. Stay Foolish.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply


เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
ค้นหาในหัวข้อนี้:

ค้นหาขั้นสูง

กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 20:45


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha