Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 04 มิถุนายน 2005, 19:13
MiKa MiKa ไม่อยู่ในระบบ
เริ่มฝึกวรยุทธ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 04 มิถุนายน 2005
ข้อความ: 15
MiKa is on a distinguished road
Unhappy ไม่เข้าใจเรื่อง สัจนิรันดร์ (ตรรกศาสตร์) อ่ะครับ

ตอนเรียนในห้องฟังอาจาร์ยสอนแล้วไม่เข้าใจเลยอ่ะครับ
อยากให้พี่ๆ ช่วยอธิบายวิธีการหาว่าเปนสัจนิรันดร์หรือไม่ ทีนะครับ ^^
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 04 มิถุนายน 2005, 19:49
nongtum's Avatar
nongtum nongtum ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 เมษายน 2005
ข้อความ: 3,246
nongtum is on a distinguished road
Post

ขอสันนิษฐานว่าน้องเข้าใจการเขียนตารางหาค่าความจริงและการแสดงหาข้อขัอแย้งแล้ว ดังนั้น ลองตามไปดูได้ที่นี่
หากยังไม่เข้าใจการสร้างตารางหาค่าความจริง ลองเข้าไปดูที่นี่ครับ
หรือไม่ลองกลับไปอ่านหนังสือของกระทรวงและ/หรือหนังสือเสริมทั่วไปอีกทีครับ หากยังสงสัย ลองยกจุดที่สงสัยมาถามเป็นข้อๆจะดีกว่าครับ
__________________
คนไทยร่วมใจอย่าใช้ภาษาวิบัติ
ฝึกพิมพ์สัญลักษณ์สักนิด ชีวิต(คนตอบและคนถาม)จะง่ายขึ้นเยอะ (จริงๆนะ)

Stay Hungry. Stay Foolish.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 04 มิถุนายน 2005, 22:38
MiKa MiKa ไม่อยู่ในระบบ
เริ่มฝึกวรยุทธ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 04 มิถุนายน 2005
ข้อความ: 15
MiKa is on a distinguished road
Post

อ . ผมให้โจทย์ข้อนี้มาอ่ะครับ
(pq)[(pq)(~p~q)] ประพจน์นี้เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่

ตอน อ. สอนเขาบอกว่าให้ ตรวจสอบว่า
(pq) สมมูลกันกับ [(pq)(~p~q)] หรือเปล่าอ่ะคับ
ถ้าสมมูลกัน แสดงว่าเปนสัจนิรันดร์ แล้วทีนี้ ผมหาไม่ได้อ่าคับ แต่ลองวิธีตีตารางแล้ว ผลเปน สัจนิรันดร์อ่ะคับ

05 มิถุนายน 2005 11:29 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ MiKa
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 04 มิถุนายน 2005, 22:51
nongtum's Avatar
nongtum nongtum ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 เมษายน 2005
ข้อความ: 3,246
nongtum is on a distinguished road
Post

ข้อนี้เป็นสัจนิรันดร์ครับ ทำได้ง่ายที่สุดโดยอาศัยตารางค่าความจริง โดยพิจารณาไปที่ละกรณี (มี 4 กรณี) โดยพิจารณาไปทีละวงเล็บใหญ่ๆ ซึ่งควรจะได้ว่าทั้งสองวงเล็บนี้มีค่าความจริงตรงกัน ตามเงื่อนไขของก็ต่อเมื่อ หากยังสงสัยเดี๋ยวมาขยายความให้ต่อครับ
Edit1: เพิ่งเห็นน้องมาแก้เมื่อกี้ งั้นขอเวลาแป๊บนึงนะครับ
Edit2: แว้บออกไปซื้อของแป๊บเดียว คุณ passer-by ก็มาช่วยผมตอบแล้ว ขอบคุณมากครับ และขอโทษน้อง MiKa ด้วยหากทำให้ต้องรอเก้อ
__________________
คนไทยร่วมใจอย่าใช้ภาษาวิบัติ
ฝึกพิมพ์สัญลักษณ์สักนิด ชีวิต(คนตอบและคนถาม)จะง่ายขึ้นเยอะ (จริงๆนะ)

Stay Hungry. Stay Foolish.

05 มิถุนายน 2005 00:58 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ nongtum
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 04 มิถุนายน 2005, 23:07
MiKa MiKa ไม่อยู่ในระบบ
เริ่มฝึกวรยุทธ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 04 มิถุนายน 2005
ข้อความ: 15
MiKa is on a distinguished road
Post

ครับ ^^.. เอาใจช่วยอยู่นะครับ ><"
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 05 มิถุนายน 2005, 00:42
passer-by passer-by ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 เมษายน 2005
ข้อความ: 1,442
passer-by is on a distinguished road
Post

อ้างอิง:
ข้อความเดิมของคุณ Mika:
ตอน อ. สอนเขาบอกว่าให้ ตรวจสอบว่า
(pq)[(pq) สมมูลกันกับ (~p~q)] หรือเปล่าอ่ะคับ
สำหรับข้อ นี้ ถ้าจะแสดงสัจนิรันดร์ น่าจะ แสดงว่า (pq) สมมูล กับ [(pq)(~p~q)] หรือไม่
ส่วนวิธีที่ง่ายสุด ก็อย่างที่คุณ nongtum บอก คือ ตีตารางค่าความจริง ซึ่งพิจารณาแค่ 4 กรณี ส่วน ถ้าอยากได้วิธีแบบที่เป็นขั้นเป็นตอนจริงๆ อาจต้องพึ่งกฎทางตรรกศาสตร์มาช่วยครับ ซึ่งพี่ก็ไม่แน่ใจเหมือนกันว่า น้องเรียนตรงนี้หรือยัง เช่น
  1. p(qr) (pq)(pr)
  2. p(qr) (pq)(pr)
  3. ~(pq)~p~q
  4. ~(pq)~p~q
  5. p~p เป็นเท็จตลอด ทุกประพจน์ p
  6. p~p เป็นจริงตลอด หรือเป็นสัจนิรันดร์ ทุกประพจน์ p
  7. (pq)(pq)(qp)
  8. pq ~pq
อย่างข้อนี้ พิจารณาประพจน์ฝั่งขวามือของโจทย์ แล้วจัดรูปใหม่ โดยใช้ 1,2,6,7,8 ประกอบกัน จะได้
(p q) (~p ~q) ((p q) ~p) ((p q) ~q)
((p ~p) (q~p)) ((p~ q) (q ~q))
(q~p) (p~q)
(p q)(q p)
p q

แสดงว่าประพจน์ซ้ายและขวามือสมมูลกันในที่สุด
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว

05 มิถุนายน 2005 00:44 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ passer-by
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 05 มิถุนายน 2005, 11:40
MiKa MiKa ไม่อยู่ในระบบ
เริ่มฝึกวรยุทธ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 04 มิถุนายน 2005
ข้อความ: 15
MiKa is on a distinguished road
Thumbs up

อ่า ขอบคุนมากๆ นะครับ เรื่องสูตรตรรกศาสตร์ อ.เขาไม่สอนที่มา อ่ะคับ เขาแค่จดไว้แล้วให้ นร.ลอกตามเฉยๆ อ่ะคับ - -"

ปล. ยังใช้สูตรข้อที่ 1,2,6 มะค่อยแม่นอ่ะคับ ToT
ปล.2 ขอบคุนพี่ nongtum ด้วยนะคับ ที่ช่วยอ่าคับ ^^"

05 มิถุนายน 2005 11:41 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ MiKa
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 05 มิถุนายน 2005, 22:02
passer-by passer-by ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 เมษายน 2005
ข้อความ: 1,442
passer-by is on a distinguished road
Post

จริงๆ กฎทั้ง 9 ข้อนี้ พื้นฐานก็มาจากตารางค่าความจริงครับ โดยประพจน์ที่สมมูลกัน จะมีค่าความจริงเหมือนกัน กรณีต่อกรณี

ส่วนกฎข้อ 1,2 ที่น้อง Mika ยังใช้ไม่ค่อยคล่อง ให้นึกถึง สมบัติการแจกแจง ที่เรียนมาตั้งแต่ เยาว์วัย ว่า a (b+c) = (ab)+(ac) อาจจะช่วยให้คุ้นเคยกับกฎ มากขึ้น

จริงๆ แล้วกฎบางข้อ ก็ไม่จำเป็นต้องท่องแบบนกแก้ว นกขุนทองก็ได้ครับ เช่น กฎข้อ 5,6 เนื่องจาก p และ ~p มีค่าความจริงตรงข้ามกันเสมอ ดังนั้น ถ้าเชื่อมด้วย "หรือ" ยังไงก็เป็นจริงตลอดกาล เพราะ ไม่ฝั่งซ้ายก็ขวาต้องเป็น true ส่วนถ้าเชื่อมด้วย "และ" อันนี้ก็เท็จตลอดกาล เพราะ ต้องมีซักฝั่งที่เป็น false
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 04:36


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha