Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย > ข้อสอบในโรงเรียน ม.ปลาย
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #16  
Old 09 พฤศจิกายน 2010, 15:52
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

ข้อ 5 ยังไม่ถูกครับ
เดี๋ยวทยอยเอาเฉลยที่เขาต่างจากที่เราทำกันมาให้ดูครับ...พิมพ์จนมือหยิกแล้ว
เพราะผมต้องเทียบภาษากับกูเกิลด้วย แลวพิมพ์ด้วย....เลยช้าไปหน่อยครับ
ใจเย็นหน่อยครับพี่น้อง
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #17  
Old 09 พฤศจิกายน 2010, 15:55
Ne[S]zA's Avatar
Ne[S]zA Ne[S]zA ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 กรกฎาคม 2008
ข้อความ: 1,221
Ne[S]zA is on a distinguished road
Default

ข้อ 3) ผมตอบ $m=\pm \sqrt{24}$ นี่ครับ
__________________
||!<<<<iNesZaii>>>>!||
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #18  
Old 09 พฤศจิกายน 2010, 16:03
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

ตอบตามที่น้องเนสตอบครับ ผมมึนเองครับ
พิมพ์ไปเบลอไปครับ55555
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)

09 พฤศจิกายน 2010 16:05 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ กิตติ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #19  
Old 09 พฤศจิกายน 2010, 16:37
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

ข้อ 4...คำตอบของน้องเนสถูกต้องครับ วิธีที่เขาเฉลยก็แบบเดียวกับที่น้องทำไว้ครับ
ข้อ 8....คำตอบถูกครับ วิธีเฉลยเหมือนกันครับ
ข้อ10...คำตอบถูกครับ...ลองดูวิธีที่เขาเฉลยให้ดูครับ
อ้างอิง:
10.(2008) จงหาค่า $x,y$ จากสมการ $x^2+y+x^3y+xy^2+xy = -\frac{5}{4} $ และ $x^4+y^2+xy(1+2x ) = -\frac{5}{4} $ เมื่อ$x,y\epsilon R$
$x^2+y+x^3y+xy^2+xy= x^2+y+xy+xy(x^2+y) = -\frac{5}{4} $

$x^4+y^2+xy(1+2x ) = (x^2+y)^2+xy=-\frac{5}{4} $

ให้$u= x^2+y $ และ $v=xy$
$u+v+uv = -\frac{5}{4} $.....(1)
$u^2+v= -\frac{5}{4} $........(2)
จาก(2) $v= -\frac{5}{4}-u^2$.......นำไปแทนในสมการที่(1)
$u^3+u^2+\frac{u}{4} =0$
$u(u^2+u+\frac{1}{4} )=0$
$u(u+\frac{1}{2} )^2=0$
$u=0, v= -\frac{5}{4}$ ได้ค่า$x=\sqrt[3]{\frac{5}{4} } ,y= -\sqrt[3]{\frac{25}{16} } $
$u= -\frac{1}{2} ,v= -\frac{3}{2} $ ได้ค่า$x=1,y= -\frac{3}{2}$

เดี๋ยวขอตัวก่อนแล้วครับ ไปรับลูกก่อน....ขอพักมือ เดี๋ยวค่ำๆถ้าไม่ติดอะไรจะเข้ามาดูใหม่ครับ
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #20  
Old 09 พฤศจิกายน 2010, 17:45
Siren-Of-Step's Avatar
Siren-Of-Step Siren-Of-Step ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 กันยายน 2009
ข้อความ: 2,081
Siren-Of-Step is on a distinguished road
Default

ขอโจทย์เพิ่มอีกครับ ๆ (จะคิดได้กับไม่ได้อีกเรื่อง )
__________________
Fortune Lady
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #21  
Old 09 พฤศจิกายน 2010, 18:17
Ne[S]zA's Avatar
Ne[S]zA Ne[S]zA ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 กรกฎาคม 2008
ข้อความ: 1,221
Ne[S]zA is on a distinguished road
Default

$\cos ^2 (3x) \cos (2x)-\cos^2 x=0$
$(\dfrac{1+\cos (6x)}{2})\cos (2x)-(\dfrac{1+\cos (2x)}{2})$=0
$\cos (6x) \cos(2x)=1$
$\cos (8x) + \cos (4x)=2$
$2\cos^2 (4x) +\cos (4x) -3=0$
$(2\cos (4x) +3)(\cos (4x)-1)=0$
แต่ $-1\leqslant \cos (4x) \leqslant 1$
ดังนั้น $\cos (4x)=1$ เท่านั้น
เพราะฉะนั้น $x=\dfrac{n\pi}{2}$ โดยที่ $n$ เป็นจำนวนเต็ม
__________________
||!<<<<iNesZaii>>>>!||

09 พฤศจิกายน 2010 18:18 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Ne[S]zA
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #22  
Old 09 พฤศจิกายน 2010, 21:56
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

นึกว่าน้องsirenจะไม่สนใจทำเสียแล้ว เห็นกำลังยุ่งกับเข้าค่ายนี่ครับ
เดี๋ยวพรุ่งนี้คัดให้อีก 10 ข้อแล้วกันครับ....ผมโหลดมาหลายที่ครับ ของMMO ก็ลองโหลดมา....ของเม็กซิโก
อาศัยกูเกิลtranslateช่วยแปลออกมา ยังไม่ว่างทำ
ของอเมริกา คัดตัวแทนรัฐก็มีโหลดมาแล้ว ไม่มีเวลาคัด
ของญี่ปุ่นก็เจอเวปไซด์ เสียดายที่เขาแปลงpdfมาจากไฟล์ภาพ ไม่สามารถแกะตัวอักษรเข้ากูเกิลได้
ลองทำข้อสอบของเวียตนามก่อนแล้วกัน
พอดีไฟล์เฉลยอยู่ในคอมที่ทำงาน พรุ่งนี้ผมค่อยเฉลยแล้วกันครับ ตอนนี้นั่งอยู่ที่บ้าน ไม่มีไฟล์ครับ
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)

09 พฤศจิกายน 2010 21:59 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ กิตติ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #23  
Old 10 พฤศจิกายน 2010, 16:29
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

ข้อ7 คำตอบถูกครับ เฉลยใช้วิธีเดียวกับที่น้องเนสทำให้ดูครับ
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #24  
Old 25 กรกฎาคม 2011, 15:36
BLACK-Dragon's Avatar
BLACK-Dragon BLACK-Dragon ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 04 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 719
BLACK-Dragon is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ กิตติ
9.(2008) จงแก้สมการ $\dfrac{1}{\sin x} +\dfrac{1}{\sin(x-\dfrac{3\pi }{2} )} =4\sin (\dfrac{7\pi }{4} -x)$
$\dfrac{\sin x+\sin (x-\dfrac{3\pi}{2})}{\sin x \sin (x-\dfrac{3\pi}{2})}=4\sin (\dfrac{7\pi }{4} -x)$

$\dfrac{2\sin (2x-\dfrac{3\pi}{2})\cos \dfrac{3\pi}{2}}{\sin x \sin (x-\dfrac{3\pi}{2})}=4\sin (\dfrac{7\pi }{4} -x)$
$4\sin (\dfrac{7\pi }{4} -x)=0$------------------ ($\cos \dfrac{3\pi}{2}=0$)

$\sin (\dfrac{7\pi}{4}-x) =0$

$\dfrac{7\pi}{4}-x=n\pi$ โดยที่ $n=0,1,2,....$

$x=\dfrac{7\pi}{4}-n\pi$ โดยที่ $n=0,1,2,....$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #25  
Old 25 กรกฎาคม 2011, 15:47
Amankris's Avatar
Amankris Amankris ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,492
Amankris is on a distinguished road
Default

#24
แทนสูตรผิดนะ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #26  
Old 25 กรกฎาคม 2011, 16:31
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

$\dfrac{2\sin (x-\dfrac{3\pi}{4})\cos \dfrac{3\pi}{4}}{\sin x \sin (x-\dfrac{3\pi}{2})}=4\sin (\dfrac{7\pi }{4} -x)$
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #27  
Old 25 กรกฎาคม 2011, 17:02
BLACK-Dragon's Avatar
BLACK-Dragon BLACK-Dragon ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 04 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 719
BLACK-Dragon is on a distinguished road
Default

โทษทีครับเดี๋ยวจะลองคิดใหม่ ขอบคุณครับๆ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #28  
Old 26 สิงหาคม 2011, 11:09
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

ข้อ9....ผมว่าการแปลงผลคูณเป็นผลบวกอาจงงๆ พอดีค่า$\dfrac{\pi}{2}$ กับ$\dfrac{\pi}{4}$ เราพอหาได้ ผมแปลงตรงๆไปเลย
$\sin (x-\dfrac{3\pi}{2})=-\cos x \times \sin\dfrac{3\pi}{2}=\cos x$

$\sin (\dfrac{7\pi }{4} -x)=\sin (2\pi -\dfrac{\pi }{4} -x)$
$=\sin (2\pi -(\dfrac{\pi }{4}+x))$
$=-\sin (\dfrac{\pi }{4}+x)$
$=-\frac{1}{\sqrt{2} }(\sin x+\cos x) $

$\frac{1}{sinx} +\frac{1}{sin(x-\frac{3\pi }{2} )} =4sin (\frac{7\pi }{4} -x)$
จะกลายร่างเป็น
$\frac{1}{sinx} +\frac{1}{\cos x} =-\frac{4}{\sqrt{2} }(\sin x+\cos x)$
$\sqrt{2}(\sin x+\cos x)=-4\sin x \cos x(\sin x+\cos x)$

$2\sin x \cos x=(\sin x+\cos x)^2-1$
$\sqrt{2}(\sin x+\cos x)=-2((\sin x+\cos x)^2-1)(\sin x+\cos x)$
$(2-\sqrt{2})(\sin x+\cos x)-2(\sin x+\cos x)^3=0$
$(\sin x+\cos x)((2-\sqrt{2})-2(\sin x+\cos x)^2)=0$
$\sin x+\cos x=0$ หรือ $(2-\sqrt{2})-2(\sin x+\cos x)^2=0$

$\sin x+\cos x=0 \rightarrow \sin2x = -1 \rightarrow x=\frac{3\pi}{4} +n\pi$
$\sin 2x=-\frac{1}{\sqrt{2} } \rightarrow x= \frac{5\pi}{8},\frac{7\pi}{8}+n\pi $
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)

26 สิงหาคม 2011 12:14 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ กิตติ
เหตุผล: พิมพ์เพิ่ม
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 13:53


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha