Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > ทฤษฎีจำนวน
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 31 สิงหาคม 2012, 22:45
หัดเดินบนโลกคณิตศาสตร์'s Avatar
หัดเดินบนโลกคณิตศาสตร์ หัดเดินบนโลกคณิตศาสตร์ ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 19 กรกฎาคม 2012
ข้อความ: 61
หัดเดินบนโลกคณิตศาสตร์ is on a distinguished road
Default Number Theory พิสูจน์ ครับ

$ax^2(c+b)x+(e+d)=0$ มีรากเป็นจำนวนจริงที่มีค่ามากกว่า 1 แล้ว จงแสดงว่าสมการ
$ax^4+bx^3+cx^2+dx+e=0$
มีรากเป็นจำนวนจริงอย่างน้อย 1 ตัว

01 กันยายน 2012 15:12 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ หัดเดินบนโลกคณิตศาสตร์
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 01 กันยายน 2012, 09:27
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

รีบไปหน่อยนะ กลับมาแก้โจทย์ก่อน
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 01 กันยายน 2012, 14:18
หัดเดินบนโลกคณิตศาสตร์'s Avatar
หัดเดินบนโลกคณิตศาสตร์ หัดเดินบนโลกคณิตศาสตร์ ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 19 กรกฎาคม 2012
ข้อความ: 61
หัดเดินบนโลกคณิตศาสตร์ is on a distinguished road
Default

แก้แล้วครับ ขอโทษจิงๆ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 01 กันยายน 2012, 14:24
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ หัดเดินบนโลกคณิตศาสตร์ View Post
$ax^2(c+d)x+(e+d)=0$
ตรงนี้หมายถึงอะไรครับ

ไม่มี $b$ ด้วยเหรอครับ
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 01 กันยายน 2012, 15:12
หัดเดินบนโลกคณิตศาสตร์'s Avatar
หัดเดินบนโลกคณิตศาสตร์ หัดเดินบนโลกคณิตศาสตร์ ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 19 กรกฎาคม 2012
ข้อความ: 61
หัดเดินบนโลกคณิตศาสตร์ is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ nooonuii View Post
ตรงนี้หมายถึงอะไรครับ

ไม่มี $b$ ด้วยเหรอครับ
เปง c+b ครับแก้แล้ว
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 01 กันยายน 2012, 15:56
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ หัดเดินบนโลกคณิตศาสตร์ View Post

$ax^2+(b+c)x+(d+e)=0$ มีรากเป็นจำนวนจริงที่มีค่ามากกว่า 1 แล้ว จงแสดงว่าสมการ
$ax^4+bx^3+cx^2+dx+e=0$ มีรากเป็นจำนวนจริงอย่างน้อย 1 ราก
โจทย์เป็นแบบนี้เหรอครับ
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 01 กันยายน 2012, 16:02
หัดเดินบนโลกคณิตศาสตร์'s Avatar
หัดเดินบนโลกคณิตศาสตร์ หัดเดินบนโลกคณิตศาสตร์ ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 19 กรกฎาคม 2012
ข้อความ: 61
หัดเดินบนโลกคณิตศาสตร์ is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ nooonuii View Post
โจทย์เป็นแบบนี้เหรอครับ
ใช่แล้วครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 01 กันยายน 2012, 23:57
Keehlzver's Avatar
Keehlzver Keehlzver ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 26 มกราคม 2009
ข้อความ: 533
Keehlzver is on a distinguished road
Default

มันคือ USAMO ปีเก่าๆ
ให้ $P(x)=ax^2+(b+c)x+d+e$
$Q(x)=ax^4+bx^3+cx^2+dx+e$

สังเกตว่า $Q(x)=P(x^2)+(bx^2+d)(x-1)$
แล้วพิสูจน์ขัดแย้งครับ
__________________
"ชั่วโมงหน้าต้องดีกว่าเดิม!"
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #9  
Old 02 กันยายน 2012, 08:07
หัดเดินบนโลกคณิตศาสตร์'s Avatar
หัดเดินบนโลกคณิตศาสตร์ หัดเดินบนโลกคณิตศาสตร์ ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 19 กรกฎาคม 2012
ข้อความ: 61
หัดเดินบนโลกคณิตศาสตร์ is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Keehlzver View Post
มันคือ USAMO ปีเก่าๆ
ให้ $P(x)=ax^2+(b+c)x+d+e$
$Q(x)=ax^4+bx^3+cx^2+dx+e$

สังเกตว่า $Q(x)=P(x^2)+(bx^2+d)(x-1)$
แล้วพิสูจน์ขัดแย้งครับ
อ่อ ออกแล้วคร่าปผม ขอบคุณมากครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #10  
Old 02 กันยายน 2012, 09:57
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

ไปแกะวิธีนี้มาจาก AOPS ครับ

ให้ $Q(x)=ax^4+bx^3+cx^2+dx+e$

สมมติว่า $r$ คือรากของ $ax^2+(b+c)x+(d+e)$

จะได้ $ar^2+cr+e=-(br+d)$

ดังนั้น

$Q(\sqrt{r})=(br+d)(\sqrt{r}-1)$

$Q(-\sqrt{r})=-(br+d)(\sqrt{r}+1)$

$Q(\sqrt{r})Q(-\sqrt{r})=(1-r)(br+d)^2\leq 0$

จึงได้ว่าจะมีรากของ $Q(x)$ อยู่ในช่วง $[-\sqrt{r},\sqrt{r}]$

ที่ไม่ชอบวิธีนี้เท่าไหร่คือต้องอ้าง Intermediate Value Theorem ครับ

ป.ล. ลืมถามว่า USAMO ปีไหนครับ
__________________
site:mathcenter.net คำค้น

02 กันยายน 2012 09:59 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ nooonuii
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #11  
Old 02 กันยายน 2012, 18:33
Keehlzver's Avatar
Keehlzver Keehlzver ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 26 มกราคม 2009
ข้อความ: 533
Keehlzver is on a distinguished road
Default

จริงๆแล้วโจทย์ข้อนี้ตัวอย่างในวิชาพีชคณิตค่ายสวนกุหลาบเก่าครับ
อาจารย์บอกว่าเป็น USAMO แต่พอผมลอง Search ดูจริงๆ ดันไม่เจอ
อันนี้เป็นวิธีทำในค่ายครับ ไม่รู้ว่าผิดถูกยังไง ชี้แนะด้วยนะครับ

ต่อจากบรรทัด $Q(x)=P(x^2)+(bx^2+d)(x-1)$
เราสมมติว่า $Q(x)>0$ ทุก $x$
เลือกให้ $w^2$ เป็นรากของสมการ $P(x)=0$
ได้ว่า $Q(w),Q(-w)$ มากกว่า 0
ทำให้ $(bw^2+d)(w-1) > 0$ และ $(bw^2+d)(-w-1) > 0$ ด้วย
เพราะว่า $(bx^2+d)$ เครื่องหมายต้องเหมือนกัน
บังคับว่า $(w-1)(-w-1) > 0$ เท่านั้น ทำให้ได้ว่า $w^2 < 1$
ซึ่งขัดแย้งกับโจทย์ที่บอกว่ารากต้องมากกว่า 1
กรณี $Q(x) < 0$ ทุก $x$ ก็ทำแบบเดียวกัน
__________________
"ชั่วโมงหน้าต้องดีกว่าเดิม!"
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #12  
Old 02 กันยายน 2012, 19:58
polsk133's Avatar
polsk133 polsk133 ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 สิงหาคม 2011
ข้อความ: 1,873
polsk133 is on a distinguished road
Default

จริงด้วย มีอยู่จริงๆครับ
__________________
เพจรวมโจทย์คอมบินาทอริกที่น่าสนใจ
https://www.facebook.com/combilegends
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #13  
Old 03 กันยายน 2012, 09:15
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

#11 วิธีนี้ยังขาดกรณีที่ $P(x)>0$ บาง $x$ กับ $P(y)<0$ บาง $y$ นะ

ตรงนี้แหละครับที่ต้องอ้าง Intermediate Value Theorem
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #14  
Old 03 กันยายน 2012, 17:31
Keehlzver's Avatar
Keehlzver Keehlzver ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 26 มกราคม 2009
ข้อความ: 533
Keehlzver is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ nooonuii View Post
#11 วิธีนี้ยังขาดกรณีที่ $P(x)>0$ บาง $x$ กับ $P(y)<0$ บาง $y$ นะ

ตรงนี้แหละครับที่ต้องอ้าง Intermediate Value Theorem
เพราะว่ากรณีที่ทำเอาไว้ คุมแค่กรณีที่ $P(x) = 0$ ยังขาดกรณีที่ $P(x) > 0$ กับ $P(x) < 0$ บาง $x$ ใช่ไหมครับ??

ผมถึงว่าที่ลอกมาไม่เห็นมี Intermediate Value Theorem เลย
__________________
"ชั่วโมงหน้าต้องดีกว่าเดิม!"
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply


หัวข้อคล้ายคลึงกัน
หัวข้อ ผู้ตั้งหัวข้อ ห้อง คำตอบ ข้อความล่าสุด
ปัญหาชิงรางวัลข้อที่ 23: Number Theory once more warut คณิตศาสตร์อุดมศึกษา 17 28 ธันวาคม 2011 20:38
อยากทราบแขนงของวิชา NUMBER THEORY ครับ pure_mathja ทฤษฎีจำนวน 11 03 ตุลาคม 2008 21:24
ถามโจทย์เกี่ยวกับ number theory ซัก 2 ข้อนะครับ chaitung ทฤษฎีจำนวน 4 05 ตุลาคม 2007 09:00
ปัญหา Number Theory kanji ทฤษฎีจำนวน 4 16 พฤศจิกายน 2005 20:30


กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 11:07


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha