Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > พีชคณิต
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 15 มิถุนายน 2014, 14:06
ฟินิกซ์เหินฟ้า ฟินิกซ์เหินฟ้า ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 28 พฤศจิกายน 2012
ข้อความ: 295
ฟินิกซ์เหินฟ้า is on a distinguished road
Default Algebra Nice Problems collection

1. จงหาพหุนาม $P(x)$ ทั้งหมดซึ่งสอดคล้องสมการเชิงฟังก์ชัน $(x-1)P(x)+1=xP(x+1)$

2. จงแสดงว่าสมการ $4^x9^{1/x}+9^x4^{1/ x}=210$ มีเพียงสองคำตอบเท่านั้น

3. จงหาจำนวนเต็ม $a$ ที่ทำให้ $x^2-x+a$ เป็นตัวประกอบของ $x^{13}+x+90$

4.ให้ $0< a_0\leq a_1\leq a_2\leq ....\leq a_{n-1}\leq 1$ เป็นจำนวนจริง ให้ $z$ เป็นจำนวนเชิงซ้อน
ที่เป็นรากหนึ่งของสมการ
$$x^n+a_{n-1}x^{n-1}+...+a_1x+a_0 =0$$
โดยที่ $\mid z\mid\geq 1$ จงแสดงว่า $z^{n+1}=1$

5. กำหนดให้ $m \in \mathbb{N}$
จงพิสูจน์
1. $\displaystyle cos{\frac{\pi}{2m+1}}cos{\frac{2\pi}{2m+1}}...cos{\frac{m\pi}{2m+1}}=\frac{1}{2^m}$

2. $\displaystyle cos{\frac{\pi}{2m}}cos{\frac{2\pi}{2m}}...cos{\frac{(m-1)\pi}{2m}}=\frac{\sqrt{m}}{2^{m-1}}$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 20 มิถุนายน 2014, 19:48
Thgx0312555's Avatar
Thgx0312555 Thgx0312555 ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 สิงหาคม 2011
ข้อความ: 885
Thgx0312555 is on a distinguished road
Default

solution ข้อ 5.1 โดยย่อครับ 5.2 ก็ทำคล้ายๆกันได้

5.1 $\displaystyle \prod_{k=1}^m \cos \dfrac{k \pi}{2m+1}= \dfrac{1}{2^m} \prod_{k=1}^m \Big(cis \dfrac{k \pi}{2m+1} + cis \dfrac{-k \pi}{2m+1} \Big)$

$\displaystyle \biggl( \prod_{k=1}^m \Big( cis \dfrac{k \pi}{2m+1} + cis \dfrac{-k \pi}{2m+1} \Big) \biggl)^2 = \prod_{k=1}^m \Big( cis \dfrac{2k \pi}{2m+1} + 1 \Big) \Big(cis \dfrac{-2k \pi}{2m+1} + 1 \Big) = \prod_{k=1}^{2m} \Big( cis \dfrac{2k \pi}{2m+1} + 1 \Big)$

ซึ่ง $1+1, cis \dfrac{2\pi}{2m+1} + 1,cis \dfrac{4\pi}{2m+1} + 1,...,cis \dfrac{2m\pi}{2m+1} + 1$ เป็นรากของพหุนาม $(x-1)^{2m+1}-1=0$

ดูผลคูณรากจะได้ $\displaystyle 2\prod_{k=1}^{2m} \Big( cis \dfrac{2k \pi}{2m+1} + 1 \Big) = 2$
$\displaystyle \prod_{k=1}^{2m} \Big( cis \dfrac{2k \pi}{2m+1} + 1 \Big) = 1$

$\displaystyle \biggl( \prod_{k=1}^m \Big( cis \dfrac{k \pi}{2m+1} + cis \dfrac{-k \pi}{2m+1} \Big) \biggl)^2=1$

$\displaystyle \prod_{k=1}^m \Big( cis \dfrac{k \pi}{2m+1} + cis \dfrac{-k \pi}{2m+1} \Big)=\pm 1$

$\displaystyle \prod_{k=1}^m \cos \dfrac{k \pi}{2m+1}=\pm \dfrac{1}{2^m}$

แต่เห็นได้ชัด ว่าผลคูณต้องมีค่ามากกว่า $0$

$\displaystyle \prod_{k=1}^m \cos \dfrac{k \pi}{2m+1}=\dfrac{1}{2^m}$
__________________
----/---~Alice~ จงรับรู้ไว้ ชื่อแห่งสีสันหนึ่งเดียวที่แสดงผล
---/---- ~Blue~ นี่คือ สีแห่งความหลังอันกว้างใหญ่ของเว็บบอร์ดนี้
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 20 มิถุนายน 2014, 20:00
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ ฟินิกซ์เหินฟ้า View Post
1. จงหาพหุนาม $P(x)$ ทั้งหมดซึ่งสอดคล้องสมการเชิงฟังก์ชัน $(x-1)P(x)+1=xP(x+1)$
$P(x)=1$ เท่านั้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 21 มิถุนายน 2014, 01:53
Beatmania's Avatar
Beatmania Beatmania ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 พฤษภาคม 2011
ข้อความ: 279
Beatmania is on a distinguished road
Default

ช่วยขยายความจาก อ.Nooonuiii นะครับ

ให้ $Q(x)=(x-1)(P(x)-1)$ จากโจทย์

$(x-1)P(x)-x+1=xP(x+1)-x$

$Q(x)=Q(x+1)$

ถ้าหาก $Q(x)$ ไม่ใช่พหุนามคงตัวแล้ว $deg[Q]=k$ โดย $k$ เป็นจำนวนนับ

พิจารณาพหุนาม $R(x)=Q(x)-Q(0)$ ชัดเจนว่า $deg[R]=k$ จากโจทย์ จะได้ว่า

$R(1)=Q(1)-Q(0)=0,R(2)=Q(2)-Q(0)=Q(1)-Q(0)=0,...,R(k+1)=0$

พหุนาม $R(x)$ มีรากมากกว่าดีกรี ดังนั้น $R(x)=0$ ทำให้ได้ว่า $Q(x)=Q(0)$

ขัดแย้งกับที่สมมุติไว้ก่อนหน้า

ดังนั้น $Q(x)$ เป็นพหุนามคงตัว นั่นคือ $c=(x-1)(P(x)-1)$ ทุกจำนวนจริง $x$

เมื่อ $x=1$ จะได้ว่า $c=0$ ทำให้ได้ว่า $P(x)=1$
__________________
I'm Back
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 25 มิถุนายน 2014, 10:44
ฟินิกซ์เหินฟ้า ฟินิกซ์เหินฟ้า ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 28 พฤศจิกายน 2012
ข้อความ: 295
ฟินิกซ์เหินฟ้า is on a distinguished road
Default เพิ่มโจทย์นะครับ

6.The polynomials $P(z)$ and $Q(z)$ with complex coefficients have the same set of numbers for their zero's but possibly different multiplicities.The same is true for $P(z)+1$ and $Q(z)+1$.
Prove that $P(z)\equiv Q(z).$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply


หัวข้อคล้ายคลึงกัน
หัวข้อ ผู้ตั้งหัวข้อ ห้อง คำตอบ ข้อความล่าสุด
my math problem collection -InnoXenT- ปัญหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย 169 30 ตุลาคม 2019 22:28
Problems Collection (First Series) passer-by ปัญหาคณิตศาสตร์ทั่วไป 110 24 พฤศจิกายน 2014 16:12
ช่วยแนะนำ textbook linear algebra กับ abtract algebra ที่เข้าใจง่ายหน่อยคร้าบบ lingnoi พีชคณิต 2 12 มกราคม 2013 23:21
Nice Problems!!!.... tatari/nightmare ทฤษฎีจำนวน 1 09 กรกฎาคม 2010 13:09
Advanced Linear Algebra Problems nooonuii พีชคณิต 0 20 พฤษภาคม 2005 03:18


กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 07:57


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha