Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > พีชคณิต
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #136  
Old 09 มิถุนายน 2007, 20:59
Switchgear's Avatar
Switchgear Switchgear ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 มกราคม 2006
ข้อความ: 472
Switchgear is on a distinguished road
Default

เอ...ข้อ 52 ดูเหมือนยังหาคนตอบไม่ได้ ?

ถ้าไม่มี $\cos u$ ก็คงง่ายเหมือนปอกกล้วยเข้าปากเลย แต่พอมีมันแล้ว หินขึ้นเยอะใช่ไหมครับ

ไม่รู้ว่ายากหรือง่ายกว่าการแปลคำว่า "แอ๊บแบ๊ว"
__________________
หนึ่งปีของอัจฉริยะ อาจเทียบเท่าชั่วชีวิตของคนบางคน

10 มิถุนายน 2007 07:16 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Switchgear
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #137  
Old 12 มิถุนายน 2007, 15:08
passer-by passer-by ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 เมษายน 2005
ข้อความ: 1,442
passer-by is on a distinguished road
Smile

ผมไม่แน่ใจว่า คุณ Switchgear ต้องการคำตอบแบบข้างล่างนี้หรือเปล่า คือผมแยกได้

$(z^n+a^ne^{iu})(z^n+a^ne^{-iu}) $
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #138  
Old 12 มิถุนายน 2007, 20:38
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

ผมก็ได้เหมือนคุณ passer-by ครับ แต่คิดว่าเจ้าของโจทย์อยากได้คำตอบที่เป็น linear or quadratic factors หรือเปล่า
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #139  
Old 13 มิถุนายน 2007, 12:51
Switchgear's Avatar
Switchgear Switchgear ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 มกราคม 2006
ข้อความ: 472
Switchgear is on a distinguished road
Default

ความเห็นคุณ passer-by กับคุณ nooonui ก็ถูกต้องครับ แต่คำตอบนั้นเขาว่ายังแยกต่อได้อีก

ลองดูคำตอบที่ผมเจอในหนังสือโบราณ ไม่รู้เหมือนกันว่าถูกต้องหรือเปล่า ?

$z^{2n} + 2a^n z^n\cos u + a^{2n}$
$= (z^2 - 2az\cos \frac{2+u}{n} + a^2)(z^2 - 2az\cos \frac{6+u}{n} + a^2) \cdot \cdot \cdot (z^2 - 2az\cos \frac{2(2n-1)+u}{n} + a^2)$
__________________
หนึ่งปีของอัจฉริยะ อาจเทียบเท่าชั่วชีวิตของคนบางคน
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #140  
Old 14 กรกฎาคม 2007, 20:58
Switchgear's Avatar
Switchgear Switchgear ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 มกราคม 2006
ข้อความ: 472
Switchgear is on a distinguished road
Default

มีข่าวมาแจ้งว่า ใครที่ชอบตรีโกณฯ มาก ขนาดนอนฝันว่าตัวเองนั่งแก้โจทย์ตรีโกณฯ
รีบไปหาซื้อหนังสือ "โลกตรีโกณมิติ" ของ รศ.ดำรงค์ ทิพย์โยธา มาอ่านได้แล้ว
เพิ่งออกเดือนกรกฎาคม 2550 นี้เอง (ตามที่พิมพ์แจ้งไว้ในหนังสือ)

หน้าปกเข้าชุดกับ "โลกอสมการ" และ "โลกอสมการ 2" ซึ่งคิดว่าหลายคนอ่านแล้ว

ราคาตามปก "โลกตรีโกณมิติ" คือ 295 บาท แต่ช่วงนี้ลด 15% ที่ศูนย์หนังสือจุฬาฯ
__________________
หนึ่งปีของอัจฉริยะ อาจเทียบเท่าชั่วชีวิตของคนบางคน
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #141  
Old 31 มีนาคม 2008, 00:46
passer-by passer-by ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 เมษายน 2005
ข้อความ: 1,442
passer-by is on a distinguished road
Default

ขุดอีกรอบครับ

53. Evaluate $$ \sum_ {n=1}^{\infty} \arcsin(\frac{4n^2}{4n^4+1})$$
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #142  
Old 09 เมษายน 2008, 20:07
Heir of Ramanujan's Avatar
Heir of Ramanujan Heir of Ramanujan ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 21 มกราคม 2007
ข้อความ: 40
Heir of Ramanujan is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ passer-by View Post
ขุดอีกรอบครับ

53. Evaluate $$ \sum_ {n=1}^{\infty} \arcsin(\frac{4n^2}{4n^4+1})$$
เนื่องจาก
$$\arcsin(\frac{4n^2}{4n^4+1}) = \arcsin(\frac{2n^2+2n}{2n^2+2n+1})-\arcsin(\frac{2n^2-2n}{2n^2-2n+1})$$
ตอนนี้พิสูจน์ได้แต่แบบลุยแหลก ถ้าคิดวิธีแบบดูดีหน่อยได้จะเอามาโพสต์
แต่ $$\arcsin(\frac{2n^2-2n}{2n^2-2n+1}) = \arcsin(\frac{2(n-1)^2+2(n-1)}{2(n-1)^2+2(n-1)+1})$$
ทำให้ $$\sum_ {n=1}^{\infty} \arcsin(\frac{4n^2}{4n^4+1}) = \sum_ {n=1}^{\infty} \left[\arcsin(\frac{2n^2+2n}{2n^2+2n+1})-\arcsin(\frac{2(n-1)^2+2(n-1)}{2(n-1)^2+2(n-1)+1})\right]$$
ซึ่งทางขวาเมื่อกระจายแทนค่า $n$ ก็จะตัดกันไปหมด จะได้
$$\sum_ {n=1}^{\infty} \arcsin(\frac{4n^2}{4n^4+1}) = \lim_{n \to \infty} \arcsin(\frac{2n^2+2n}{2n^2+2n+1}) = \arcsin 1 = \frac{\pi}{2}$$
__________________
Heir of Ramanujan
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #143  
Old 17 เมษายน 2008, 07:20
passer-by passer-by ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 เมษายน 2005
ข้อความ: 1,442
passer-by is on a distinguished road
Default

คำตอบถูกแล้วครับ
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #144  
Old 26 เมษายน 2008, 21:43
Brownian's Avatar
Brownian Brownian ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 16 มิถุนายน 2005
ข้อความ: 98
Brownian is on a distinguished road
Send a message via MSN to Brownian
Default

มาเพิ่มโจทย์ให้ครับ

54. Let $p(n)=A(n+3)^2+B+C(-1)^n+Dcos\frac{2\pi n}{3}$ n is an integer
Prove that there exists the following relationship
$$p(n)-p(n-1)-p(n-2)+p(n-4)+p(n-5)-p(n-6)=0$$
__________________
"จงรักตัวเองด้วยการช่วยเหลือผู้อื่น และรักผู้อื่นด้วยการพัฒนาตัวเอง"
<< i'm lovin' it>>

26 เมษายน 2008 21:45 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Brownian
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #145  
Old 26 เมษายน 2008, 23:36
gon's Avatar
gon gon ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎขั้นสูง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 มีนาคม 2001
ข้อความ: 4,608
gon is on a distinguished road
Smile

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Brownian View Post
มาเพิ่มโจทย์ให้ครับ

54. Let $p(n)=A(n+3)^2+B+C(-1)^n+Dcos\frac{2\pi n}{3}$ n is an integer
Prove that there exists the following relationship
$$p(n)-p(n-1)-p(n-2)+p(n-4)+p(n-5)-p(n-6)=0$$
เงื่อนไขข้างต้นสมมูลกับการพิสูจน์ว่า$$P(n) + P(n-4) + P(n-5) = P(n-1) + P(n-2) + P(n-6)$$ ซึ่งเป็นจริง เนื่องจาก
LHS. = $A[(n+3)^2 + (n-1)^2 + (n-2)^2] + 3B + C[ (-1)^n + (-1)^{n-4} + (-1)^{n-5} ] + D[\cos \frac{2\pi n}{3} + \cos \frac{2\pi (n-4)}{3} + \cos \frac{2\pi (n-5)}{3}]$

= $A(3n^2 + 14) + 3B + C(-1)^{n+1} + D[\cos \frac{2\pi n}{3} - \cos (\frac{2\pi n}{3} + \frac{\pi}{3}) - \cos (\frac{2\pi n}{3} - \frac{\pi}{3})]$

RHS. = $A[(n+2)^2 + (n+1)^2 + (n-3)^2] + 3B + C[ (-1)^{n-1} + (-1)^{n-2} + (-1)^{n-6} ] + D[\cos \frac{2\pi (n-1)}{3} + \cos \frac{2\pi (n-2)}{3} + \cos \frac{2\pi (n-6)}{3}]$

= $A(3n^2 + 14) + 3B + C(-1)^{n+1} + D[- \cos (\frac{2\pi n}{3} + \frac{\pi}{3}) - \cos (\frac{2\pi n}{3} - \frac{\pi}{3}) + \cos \frac{2\pi n}{3} ]$

เห็นได้ชัดว่า LHS. = RHS.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #146  
Old 27 เมษายน 2008, 01:11
Brownian's Avatar
Brownian Brownian ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 16 มิถุนายน 2005
ข้อความ: 98
Brownian is on a distinguished road
Send a message via MSN to Brownian
Default

แนวคิดของคุณ gon เป็นวิธีที่ตรงและสั้นกว่ามากๆ เลยครับ
มีมาฝากอีกข้อ

55. จง rationalize (ทำให้ส่วนไม่ติดรูท) เศษส่วนต่อไปนี้ $$\frac{1}{\sqrt{a}+\sqrt{b}+\sqrt{c}+\sqrt{sinA}+\sqrt{sinB}+\sqrt{sinC}}$$ โดยที่ a,b,c เป็นความยาวด้านตรงข้ามมุม A,B,C ตามลำดับของรูปสามเหลี่ยม
__________________
"จงรักตัวเองด้วยการช่วยเหลือผู้อื่น และรักผู้อื่นด้วยการพัฒนาตัวเอง"
<< i'm lovin' it>>
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #147  
Old 27 เมษายน 2008, 10:02
Brownian's Avatar
Brownian Brownian ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 16 มิถุนายน 2005
ข้อความ: 98
Brownian is on a distinguished road
Send a message via MSN to Brownian
Default

เฉลย ข้อ 55

โดยกฎของไซน์ กำหนดให้ $\frac{a}{sinA}=\frac{b}{sinB}=\frac{c}{sinC}=\frac{1}{x}$
ดังนั้น $sinA = ax$, $sinB = bx$, $sinC = cx$ และ $x = \frac{sinA+sinB+sinC}{a+b+c}$
และ $\sqrt{a}+\sqrt{b}+\sqrt{c}+\sqrt{sinA}+\sqrt{sinB}+\sqrt{sinC} = (1+\sqrt{x})(\sqrt{a}+\sqrt{b}+\sqrt{c})$

จากนั้น ก็ rationalize ตามปกติครับ
__________________
"จงรักตัวเองด้วยการช่วยเหลือผู้อื่น และรักผู้อื่นด้วยการพัฒนาตัวเอง"
<< i'm lovin' it>>
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #148  
Old 27 เมษายน 2008, 10:08
owlpenguin's Avatar
owlpenguin owlpenguin ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 มีนาคม 2008
ข้อความ: 386
owlpenguin is on a distinguished road
Default

แล้ว $\sqrt{a}+\sqrt{b}+\sqrt{c}$ นี่ rationalize ยังไงครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #149  
Old 27 เมษายน 2008, 11:00
Brownian's Avatar
Brownian Brownian ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 16 มิถุนายน 2005
ข้อความ: 98
Brownian is on a distinguished road
Send a message via MSN to Brownian
Default

งั้นเฉลยจนจบเลยละกันครับ

จาก $$\frac{1}{\sqrt{a}+\sqrt{b}+\sqrt{c}+\sqrt{sinA}+\sqrt{sinB}+\sqrt{sinC}}=\frac{1}{(1+\sqrt{x})(\sqrt{a}+\sqrt{b}+\sqrt{c})}$$

$=\frac{(1-\sqrt{x})(\sqrt{a}+\sqrt{b}-\sqrt{c})}{(1-x)(a+b-c+2\sqrt{ab})}$

$=\frac{(1-\sqrt{x})(\sqrt{a}+\sqrt{b}-\sqrt{c})(a+b-c-2\sqrt{ab})}{(1-x)(a^2+b^2+c^2-2ab-2ac-2bc)}$

$$=\frac{(\sqrt{a+b+c}-\sqrt{sinA+sinB+sinC})(\sqrt{a}+\sqrt{b}-\sqrt{c})(a+b-c-2\sqrt{ab})\sqrt{a+b+c}}{(a+b+c-sinA-sinB-sinC)(a^2+b^2+c^2-2ab-2bc-2ca)}$$

ครับ (หืดขึ้นคอ) พิมพ์ Texจนตาลายแล้ว ผิดถูกตรงไหน ก็ท้วงได้นะครับ
__________________
"จงรักตัวเองด้วยการช่วยเหลือผู้อื่น และรักผู้อื่นด้วยการพัฒนาตัวเอง"
<< i'm lovin' it>>

27 เมษายน 2008 11:04 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Brownian
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #150  
Old 27 เมษายน 2008, 11:17
Brownian's Avatar
Brownian Brownian ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 16 มิถุนายน 2005
ข้อความ: 98
Brownian is on a distinguished road
Send a message via MSN to Brownian
Default

มีมาอีกข้อ

56. Let $0\leqslant x<\frac{\pi}{2}$ prove that:
$$x-sinx\leqslant \frac{x^3}{6}$$

57. Evaluate $sin 3^{\circ} $

58. จงแสดงว่า ถ้า $$tan x + tan 2x + tan 3x + tan 4x = 0$$
แล้ว $5x = k\pi$ หรือไม่ก็ $8 cos 2x = 1\pm \sqrt{17}$
__________________
"จงรักตัวเองด้วยการช่วยเหลือผู้อื่น และรักผู้อื่นด้วยการพัฒนาตัวเอง"
<< i'm lovin' it>>

27 เมษายน 2008 23:22 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 4 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Brownian
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply


หัวข้อคล้ายคลึงกัน
หัวข้อ ผู้ตั้งหัวข้อ ห้อง คำตอบ ข้อความล่าสุด
Geometry marathon Char Aznable เรขาคณิต 78 26 กุมภาพันธ์ 2018 21:56
Algebra Marathon nooonuii พีชคณิต 199 20 กุมภาพันธ์ 2015 10:08
Calculus Marathon (2) nongtum Calculus and Analysis 134 03 ตุลาคม 2013 16:32
Marathon Mastermander ฟรีสไตล์ 6 02 มีนาคม 2011 23:19
Calculus Marathon nooonuii Calculus and Analysis 222 26 เมษายน 2008 03:52


กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 06:13


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha