Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > พีชคณิต
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #151  
Old 27 เมษายน 2008, 21:49
Brownian's Avatar
Brownian Brownian ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 16 มิถุนายน 2005
ข้อความ: 98
Brownian is on a distinguished road
Send a message via MSN to Brownian
Default

ยังไม่มีคนมาตอบ งั้นผมขอเฉลยข้อ 57. ก่อนละกันครับ
57. $sin3^\circ = sin \frac{60^\circ-54^\circ}{2}$ และ เราทราบว่า $cos 6^\circ = \frac{\sqrt{18+6\sqrt{5}}+\sqrt{10-2\sqrt{5}}}{8}$
__________________
"จงรักตัวเองด้วยการช่วยเหลือผู้อื่น และรักผู้อื่นด้วยการพัฒนาตัวเอง"
<< i'm lovin' it>>

27 เมษายน 2008 21:51 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Brownian
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #152  
Old 27 เมษายน 2008, 22:50
owlpenguin's Avatar
owlpenguin owlpenguin ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 มีนาคม 2008
ข้อความ: 386
owlpenguin is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Brownian View Post
$cos 6^\circ = \frac{\sqrt{18+6\sqrt{5}}+\sqrt{10-2\sqrt{5}}}{8}$
ทำไมครับ
56.
$sinx=x-\frac{x^3}{3!}+\frac{x^5}{5!}-\frac{x^7}{7!}...$
ดังนั้นอสมการโจทย์สมมูลกับ
$\frac{x^5}{5!}-\frac{x^7}{7!}+...=\sum_{n = 2}^{\infty} (-1)^n\frac{x^{2n+1}}{(2n+1)!}\geq 0$
เขียนใหม่ได้
$\sum_{n = 2}^{\infty} (-1)^n\frac{x^{2n+1}}{(2n+1)!}=\sum_{n =1}^{\infty} \frac{x^{4n+1}}{(4n+1)!}-\frac{x^{4n+3}}{(4n+3)!}$
พิจารณา $\frac{x^{4n+1}}{(4n+1)!}-\frac{x^{4n+3}}{(4n+3)!}$
$=\frac{x^{4n+1}}{(4n+3)!}((4n+3)(4n+2)-x^2)$
จาก $n\geq 2$ $\therefore (4n+3)(4n+2)\geq (11)(10)=110$
$x^2<\frac{\pi^2}{4}<\frac{4^2}{4}=4 \rightarrow (2n+3)(2n+2)-x^2>110-4=106>0$
จาก $x>0$ ดังนั้น
$\frac{x^{4n+1}}{(4n+3)!}((4n+3)(4n+2)-x^2)>0$
ดังนั้น $\sum_{n = 1}^{\infty} \frac{x^{4n+1}}{(4n+1)!}-\frac{x^{4n+3}}{(4n+3)!}\geq 0$ ตามต้องการ โดยอสมการจะเป็นสมการเมื่อ $x=0$

28 เมษายน 2008 20:20 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 5 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ owlpenguin
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #153  
Old 27 เมษายน 2008, 23:30
Brownian's Avatar
Brownian Brownian ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 16 มิถุนายน 2005
ข้อความ: 98
Brownian is on a distinguished road
Send a message via MSN to Brownian
Default

โจทย์ข้อ 56 ผมแก้แล้วนะครับ
แนวคิดข้อ 56 ของคุณ owlpenguin ก็ถูกครับ แต่เป็นแนวเชิงalgebra ผมมีอีกวิธีเป็นการใช้ลิมิตและ identityเข้าช่วยครับ
__________________
"จงรักตัวเองด้วยการช่วยเหลือผู้อื่น และรักผู้อื่นด้วยการพัฒนาตัวเอง"
<< i'm lovin' it>>

28 เมษายน 2008 20:20 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 5 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Brownian
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #154  
Old 28 เมษายน 2008, 00:07
kanakon's Avatar
kanakon kanakon ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 31 ตุลาคม 2006
ข้อความ: 523
kanakon is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Brownian View Post
ยังไม่มีคนมาตอบ งั้นผมขอเฉลยข้อ 57. ก่อนละกันครับ
57. $sin3^\circ = sin \frac{60^\circ-54^\circ}{2}$ และ เราทราบว่า $cos 6^\circ = \frac{\sqrt{18+6\sqrt{5}}+\sqrt{10-2\sqrt{5}}}{8}$
ที่จริงยังไม่ต้องรีบเฉลยก็ได้นะครับทิ้งไว้ซัก 1 อาทิตย์ก็ได้เพราะอาจจะมีคนที่กำลังคิด(อย่างผม)อยู่
__________________
ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ

$$|I-U|\rightarrow \infty $$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #155  
Old 28 เมษายน 2008, 12:56
Brownian's Avatar
Brownian Brownian ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 16 มิถุนายน 2005
ข้อความ: 98
Brownian is on a distinguished road
Send a message via MSN to Brownian
Default

ขอโทนะครับที่รีบเฉลยไปหน่อย

59. Given $x= sin2570^\circ$ Evaluate $(8x^4+16x^3-6x^2-11x+1)^{2551}.$
__________________
"จงรักตัวเองด้วยการช่วยเหลือผู้อื่น และรักผู้อื่นด้วยการพัฒนาตัวเอง"
<< i'm lovin' it>>

28 เมษายน 2008 13:17 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Brownian
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #156  
Old 28 เมษายน 2008, 19:26
owlpenguin's Avatar
owlpenguin owlpenguin ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 มีนาคม 2008
ข้อความ: 386
owlpenguin is on a distinguished road
Default

ข้อ 56 นี่อสมการจะเป็นสมการเมื่อใดครับ?
ข้อ 58 นี่เหนื่อยจัง...

28 เมษายน 2008 19:27 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ owlpenguin
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #157  
Old 28 เมษายน 2008, 20:13
Brownian's Avatar
Brownian Brownian ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 16 มิถุนายน 2005
ข้อความ: 98
Brownian is on a distinguished road
Send a message via MSN to Brownian
Default

อ้างอิง:
ข้อ 56 นี่อสมการจะเป็นสมการเมื่อใดครับ?
เป็นสมการเมื่อ x = 0 ครับ
__________________
"จงรักตัวเองด้วยการช่วยเหลือผู้อื่น และรักผู้อื่นด้วยการพัฒนาตัวเอง"
<< i'm lovin' it>>
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #158  
Old 28 เมษายน 2008, 20:27
owlpenguin's Avatar
owlpenguin owlpenguin ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 มีนาคม 2008
ข้อความ: 386
owlpenguin is on a distinguished road
Default

59.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #159  
Old 28 เมษายน 2008, 20:38
Brownian's Avatar
Brownian Brownian ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 16 มิถุนายน 2005
ข้อความ: 98
Brownian is on a distinguished road
Send a message via MSN to Brownian
Default

60. Solve the system $$\frac{sinx}{a} = \frac{siny}{b} = \frac{sinz}{c}$$ and $x + y + z = \pi$
__________________
"จงรักตัวเองด้วยการช่วยเหลือผู้อื่น และรักผู้อื่นด้วยการพัฒนาตัวเอง"
<< i'm lovin' it>>
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #160  
Old 28 เมษายน 2008, 21:01
Brownian's Avatar
Brownian Brownian ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 16 มิถุนายน 2005
ข้อความ: 98
Brownian is on a distinguished road
Send a message via MSN to Brownian
Default

ข้อ 59 ถูกแล้วครับ
61. จงแสดงว่า
$$\tan\alpha + \frac{1}{2}\tan\frac{\alpha}{2} + \frac{1}{4}\tan\frac{\alpha}{4} + ... + \frac{1}{2^n}\tan\frac{\alpha}{2^n} = \frac{1}{2^n}\cot\frac{\alpha}{2^n}-2\cot 2\alpha$$

62. Compute the sum
$$\sum_{k = 1}^{n} \arctan\frac{2k}{2+k^2+k^4}$$

63. Solve the system
$$\sum_{i=1}^{n-1}x_i\sin\frac{i\pi}{n} = a_1$$
$$\sum_{i=1}^{n-1}x_i\sin\frac{2i\pi}{n} = a_2$$
$$\sum_{i=1}^{n-1}x_i\sin\frac{3i\pi}{n} = a_3$$
.....................
$$\sum_{i=1}^{n-1}x_i\sin\frac{(n-1)i\pi}{n} = a_{n-1}$$

64. กำหนดให้ $\phi \in [0,2\pi]$ จงแก้สมการ
$$(\sin 3\phi \sin 6\phi)^3+(\sin \phi \sin 2\phi)^3 = (\sin 4\phi \sin 5\phi)^3$$

65. กำหนดให้ \[z = \frac{\sqrt{10-2\sqrt{5}}+(\sqrt{5}+1)i}{\sqrt{10+2\sqrt{5}}+(\sqrt{5}-1)i}\] จงหา \[\frac{z^{2551^{2552}}}{z^{2007^{2008}}}\]
__________________
"จงรักตัวเองด้วยการช่วยเหลือผู้อื่น และรักผู้อื่นด้วยการพัฒนาตัวเอง"
<< i'm lovin' it>>

29 เมษายน 2008 15:43 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 5 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Brownian
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #161  
Old 28 เมษายน 2008, 22:54
owlpenguin's Avatar
owlpenguin owlpenguin ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 มีนาคม 2008
ข้อความ: 386
owlpenguin is on a distinguished road
Default

ทำไมโจทย์มันโหดร้ายจังครับ...
64.

61

28 เมษายน 2008 23:05 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 4 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ owlpenguin
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #162  
Old 29 เมษายน 2008, 00:12
Brownian's Avatar
Brownian Brownian ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 16 มิถุนายน 2005
ข้อความ: 98
Brownian is on a distinguished road
Send a message via MSN to Brownian
Default

ข้อ 64 เป็นข้อที่ผมคิดขึ้นมาเองครับ ความจริงมันมีเทคนิคในการทำนิดหน่อย ไม่จำเป็นต้องแยก factor ขนาดนั้นหรอกครับ (คุณ owlpenguin สุดยอดจริงๆ)
แต่ตรงบรรทัดที่ว่า $\cos x - \cos 9x = 0$ ทำได้อีกวิธีนึงนะครับ คือ
$\cos x - \cos 9x = 0 \Rightarrow \sin 5x \sin 4x = 0 \Rightarrow x = \frac{n\pi}{5}, \frac{n\pi}{4} , n\in \mathbb{Z}$


ข้อ 61 ยังมีวิธีอื่นนอกจาก Induction นะครับ
__________________
"จงรักตัวเองด้วยการช่วยเหลือผู้อื่น และรักผู้อื่นด้วยการพัฒนาตัวเอง"
<< i'm lovin' it>>

30 เมษายน 2008 14:37 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 3 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Brownian
เหตุผล: ตกหล่น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #163  
Old 29 เมษายน 2008, 19:58
owlpenguin's Avatar
owlpenguin owlpenguin ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 มีนาคม 2008
ข้อความ: 386
owlpenguin is on a distinguished road
Default

ข้อ 60ทำผิดครับ

21 พฤษภาคม 2008 17:32 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 6 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ owlpenguin
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #164  
Old 30 เมษายน 2008, 12:46
Brownian's Avatar
Brownian Brownian ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 16 มิถุนายน 2005
ข้อความ: 98
Brownian is on a distinguished road
Send a message via MSN to Brownian
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ owlpenguin View Post
ข้อ 60 นี่ให้หาอะไรครับ?
ข้อ 60 ให้หาค่าของ x, y และ z ในรูปของตัวแปร a,b, c ครับ
__________________
"จงรักตัวเองด้วยการช่วยเหลือผู้อื่น และรักผู้อื่นด้วยการพัฒนาตัวเอง"
<< i'm lovin' it>>
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #165  
Old 30 เมษายน 2008, 18:43
owlpenguin's Avatar
owlpenguin owlpenguin ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 มีนาคม 2008
ข้อความ: 386
owlpenguin is on a distinguished road
Default

แก้ Solution ข้อ 60 ในความเห็นที่ 163 นะครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply


หัวข้อคล้ายคลึงกัน
หัวข้อ ผู้ตั้งหัวข้อ ห้อง คำตอบ ข้อความล่าสุด
Geometry marathon Char Aznable เรขาคณิต 78 26 กุมภาพันธ์ 2018 21:56
Algebra Marathon nooonuii พีชคณิต 199 20 กุมภาพันธ์ 2015 10:08
Calculus Marathon (2) nongtum Calculus and Analysis 134 03 ตุลาคม 2013 16:32
Marathon Mastermander ฟรีสไตล์ 6 02 มีนาคม 2011 23:19
Calculus Marathon nooonuii Calculus and Analysis 222 26 เมษายน 2008 03:52


กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 18:52


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha