Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > Calculus and Analysis
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #181  
Old 23 ตุลาคม 2006, 16:57
Timestopper_STG's Avatar
Timestopper_STG Timestopper_STG ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 22 มกราคม 2006
ข้อความ: 256
Timestopper_STG is on a distinguished road
Send a message via MSN to Timestopper_STG
Post

อ้างอิง:
ข้อความเดิมของคุณ nooonuii:
$$\displaystyle{ \lim_{n\rightarrow\infty} \frac{a_{n+1}}{a_n} = a \Rightarrow \lim_{n\rightarrow\infty} \sqrt[n]{a_n} = a .}$$
อันนี้เป็นความจริงที่เขายอมรับกันทั่วไปเลยรึเปล่าครับเผื่อจะได้เอาไปใช้บ้าง
__________________
$$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x-b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$
BUT
$$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x+b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\frac{\pi ab}{a^{2}+b^{2}}+\frac{a^{2}-b^{2}}{a^{2}+b^{2}}\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #182  
Old 24 ตุลาคม 2006, 02:11
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Post

อ้างอิง:
ข้อความเดิมของคุณ Timestopper_STG:

อันนี้เป็นความจริงที่เขายอมรับกันทั่วไปเลยรึเปล่าครับเผื่อจะได้เอาไปใช้บ้าง
เป็นทฤษฎีบทครับ ลืมบอกไปว่าใช้ได้เฉพาะลำดับของจำนวนจริงบวกครับ
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #183  
Old 25 ตุลาคม 2006, 11:27
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Post

อ้างอิง:
ข้อความเดิมของคุณ Mastermander:
57.
โดยการแทนค่าตัวแปร $u=x-n\pi$ จะได้ว่า $\displaystyle{\int_{n\pi}^{(n+1)\pi} e^{-3x}f(x)dx=e^{-3n\pi}I}$
ดังนั้น
$$\displaystyle{ \int_0^{\infty} e^{-3x}f(x)dx = \lim_{n\to\infty}\int_0^{n\pi}e^{-3x}f(x)dx = \lim_{n\to\infty} \bigg( \sum_{k=0}^{n-1} e^{-3\pi k}I \bigg)} $$
$$\displaystyle{ = \bigg ( \sum_{k=0}^{\infty} e^{-3\pi k} \bigg ) I = \bigg( \frac{e^{3\pi}}{e^{3\pi}-1} \bigg) I }$$
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #184  
Old 25 ตุลาคม 2006, 12:11
Mastermander's Avatar
Mastermander Mastermander ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 ตุลาคม 2005
ข้อความ: 796
Mastermander is on a distinguished road
Post

58.
__________________
โลกนี้มีคนอยู่ 10 ประเภท คือ คนที่เข้าใจเลขฐานสอง และคนที่ไม่เข้าใจ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #185  
Old 27 ตุลาคม 2006, 11:44
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Post

ข้อ 58 นี่เอามาจาก Green Book รึเปล่าครับ ถ้าใช่ผมรอเฉลยละกัน ยังคิดวิธีอื่นไม่ออกเลยครับ
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #186  
Old 27 ตุลาคม 2006, 11:55
Mastermander's Avatar
Mastermander Mastermander ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 ตุลาคม 2005
ข้อความ: 796
Mastermander is on a distinguished road
Post

ใช่ครับ

รอคำตอบจากท่านอื่นอีก 1 วัน ถ้าไม่มีผู้ตอบจะเฉลยครับ

59.Laplace transformation$$L^{-1}\bigg\{\frac{s}{(s^2+a^2)^2}\bigg\}$$
__________________
โลกนี้มีคนอยู่ 10 ประเภท คือ คนที่เข้าใจเลขฐานสอง และคนที่ไม่เข้าใจ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #187  
Old 27 ตุลาคม 2006, 18:30
M@gpie's Avatar
M@gpie M@gpie ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 09 ตุลาคม 2003
ข้อความ: 1,227
M@gpie is on a distinguished road
Post

อ่าว น้อง Mastermander รวมการแปลงลาปลาซไว้ในกระทู้นี้เลยเหรอครับ อิอิ
ข้อ 58 คิดไม่ออกครับ ขอข้อ 59 ดีกว่า
Consider \[ f(t) = \sin (at) \Rightarrow L\{ f(t)\} = \frac{a}{s^2+a^2}\]
and \[ L\{ tf(t)\} = -\frac{dF(s)}{ds} \]
then \[ L\{ t\sin (at) \} = -\frac{d}{ds} \left( \frac{a}{s^2+a^2}\right) = \frac{2as}{(s^2+a^2)^2}\]
finally \[ L^{-1} \left\{ \frac{s}{(s^2+a^2)^2} \right\} = \frac{t}{2a}\sin (at) \]
__________________
PaTa PatA pAtA Pon!
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #188  
Old 28 ตุลาคม 2006, 13:39
Mastermander's Avatar
Mastermander Mastermander ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 ตุลาคม 2005
ข้อความ: 796
Mastermander is on a distinguished road
Post

__________________
โลกนี้มีคนอยู่ 10 ประเภท คือ คนที่เข้าใจเลขฐานสอง และคนที่ไม่เข้าใจ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #189  
Old 28 ตุลาคม 2006, 23:12
M@gpie's Avatar
M@gpie M@gpie ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 09 ตุลาคม 2003
ข้อความ: 1,227
M@gpie is on a distinguished road
Post

ขอแจม เอาแบบ Simple มั่งนะครับ
จงหาค่าลิมิตโดยใช้ไม่ใช้กฏของโลปิตาล หรือ อนุกรมเทย์เลอร์ นะครับ อิอิ \[ \lim_{x \rightarrow 0}\frac{\sinh x}{x}\]
__________________
PaTa PatA pAtA Pon!

28 ตุลาคม 2006 23:36 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ M@gpie
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #190  
Old 29 ตุลาคม 2006, 01:04
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Post

คิดว่าข้อข้างบนคงมีคนมาตอบเร็วๆนี้ ผมต่อให้อีกข้อละกันครับ

61. จงหาค่า $a\in (0,1)$ ซึ่งทำให้ $$\displaystyle{ \int_a^{2a} e^{-x^2} dx }$$
มีค่าสูงสุด
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #191  
Old 13 พฤศจิกายน 2006, 20:06
Mastermander's Avatar
Mastermander Mastermander ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 ตุลาคม 2005
ข้อความ: 796
Mastermander is on a distinguished road
Post

$a=\sqrt{\ln2}$

ใช่รึเปล่าครับ
__________________
โลกนี้มีคนอยู่ 10 ประเภท คือ คนที่เข้าใจเลขฐานสอง และคนที่ไม่เข้าใจ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #192  
Old 14 พฤศจิกายน 2006, 04:13
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Post

อ้างอิง:
ข้อความเดิมของคุณ Mastermander:
$a=\sqrt{\ln2}$

ใช่รึเปล่าครับ
ยังไม่ใช่ครับ
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #193  
Old 14 พฤศจิกายน 2006, 23:26
Mastermander's Avatar
Mastermander Mastermander ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 ตุลาคม 2005
ข้อความ: 796
Mastermander is on a distinguished road
Post

ยอมแพ้ครับ
__________________
โลกนี้มีคนอยู่ 10 ประเภท คือ คนที่เข้าใจเลขฐานสอง และคนที่ไม่เข้าใจ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #194  
Old 15 พฤศจิกายน 2006, 02:31
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Post

Hint : Let $\displaystyle{ f(a)= \int_0^a e^{-x^2} dx}$. Then write the given integral in terms of the function $f$ and use the Fundamental Theorem of Calculus to find the maximum.
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #195  
Old 17 พฤศจิกายน 2006, 18:11
warut warut ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 พฤศจิกายน 2001
ข้อความ: 1,627
warut is on a distinguished road
Icon16

อ้างอิง:
ข้อความเดิมของคุณ M@gpie:
ขอแจม เอาแบบ Simple มั่งนะครับ
60. จงหาค่าลิมิตโดยใช้ไม่ใช้กฏของโลปิตาล หรือ อนุกรมเทย์เลอร์ นะครับ อิอิ \[ \lim_{x \rightarrow 0}\frac{\sinh x}{x}\]
ข้อนี้ผมทำไม่ได้ แต่สนใจคำตอบมากครับ ถ้าไม่มีใครคิดจะทำ คุณ M@gpie ช่วยเฉลยให้หน่อยนะครับ
อ้างอิง:
ข้อความเดิมของคุณ nooonuii:
61. จงหาค่า $a\in (0,1)$ ซึ่งทำให้ $$\displaystyle{ \int_a^{2a} e^{-x^2} dx }$$
มีค่าสูงสุด
ข้อนี้ไม่ยากครับ ถ้าผมคิดเลขไม่ผิด คำตอบคือ $$ \sqrt{ \frac{\ln2}{3} }$$ แต่ผมคงไม่มีเวลาแสดงวิธีทำหรอกนะครับ เพราะยังติดคิวอยู่อีกหลายกระทู้
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply


หัวข้อคล้ายคลึงกัน
หัวข้อ ผู้ตั้งหัวข้อ ห้อง คำตอบ ข้อความล่าสุด
Geometry marathon Char Aznable เรขาคณิต 78 26 กุมภาพันธ์ 2018 21:56
Algebra Marathon nooonuii พีชคณิต 199 20 กุมภาพันธ์ 2015 10:08
Calculus Marathon (2) nongtum Calculus and Analysis 134 03 ตุลาคม 2013 16:32
Marathon Mastermander ฟรีสไตล์ 6 02 มีนาคม 2011 23:19
Inequality Marathon nongtum อสมการ 155 17 กุมภาพันธ์ 2011 00:48


กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 05:15


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha