Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > พีชคณิต
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #196  
Old 19 มีนาคม 2009, 21:00
V.Rattanapon V.Rattanapon ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 ตุลาคม 2007
ข้อความ: 120
V.Rattanapon is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ owlpenguin View Post
69.ให้ $2sinxcosy=cos^{2}x-cos^{2}y$ และ $2cosxsiny=1.5$ โดยที่ $0\leqslant x\leqslant \pi$
และ $0\leqslant y\leqslant \pi$ จงหาค่าของ $x-y$
จาก\[
2\sin x\cos y = \cos ^2 x - \cos ^2 y
\]
\[
\sin \left( {x + y} \right) + \sin \left( {x - y} \right) = \left( {\frac{{1 + \cos 2x}}{2}} \right) - \left( {\frac{{1 + \cos 2y}}{2}} \right)
\]
\[
= \frac{1}{2}\left( {\cos 2x - \cos 2y} \right) = \frac{1}{2}\left( { - 2\left( {\sin \left( {x + y} \right)\sin \left( {x - y} \right)} \right)} \right) = - \sin \left( {x + y} \right)\sin \left( {x - y} \right)
\]
จาก \[
2\cos x\sin y = 1.5 = \frac{3}{2}
\]
\[
\sin \left( {x + y} \right) - \sin \left( {x - y} \right) = \frac{3}{2}
\]
ให้ \[
A = \sin \left( {x + y} \right)
\] และ \[
B = \sin \left( {x - y} \right)
\]
จะได้\[
A + B = - AB
\]
และ \[
A - B = \frac{3}{2}
\]
เนื่องจาก \[
- 1 \le A \le 1
\]
และ \[
- 1 \le B \le 1
\]
แก้สมการจะได้ \[
A = 1
\]
และ\[
B = - \frac{1}{2}
\]
นั่นคือ \[
\sin \left( {x + y} \right) = 1
\]
และ \[
\sin \left( {x - y} \right) = - \frac{1}{2}
\]
เนื่องจาก \[
0 \le x \le \pi
\]
และ \[
0 \le y \le \pi
\]
จะได้ \[
x + y = \frac{\pi }{2}
\]
และ \[
x - y = \frac{{7\pi }}{6}
\]
ดังนั้น \[
x - y = \frac{{7\pi }}{6}
\]

20 มีนาคม 2009 00:46 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 8 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ V.Rattanapon
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #197  
Old 20 มีนาคม 2009, 14:12
Brownian's Avatar
Brownian Brownian ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 16 มิถุนายน 2005
ข้อความ: 98
Brownian is on a distinguished road
Send a message via MSN to Brownian
Default

ไม่ได้เข้ามานาน คิดถึงจัง
ในที่สุดผมก็เป็นน้องใหม่ปีหนึ่งแล้วครับ

ขอเฉลยข้อ 73. ในวิธีของผมนะครับ
solution พิจารณา
$\begin{array}{rcl}(3+2i)^5 & = & 3^5+\left(\matrix{5 \\ 1}\right)3^4\cdot (2i)+\left(\matrix{5 \\ 2}\right)3^3\cdot (2i)^2+\left(\matrix{5 \\ 3}\right)3^2\cdot (2i)^3+\left(\matrix{5 \\ 4}\right)3\cdot (2i)^4+(2i)^5 \\ &
= & 243+810i-1080-720i+240+32i \\ &
= & -597+122i \\
(3+2i)^5 & = & \left(\sqrt{13}\left(\frac{3}{\sqrt{13}}+\frac{2}{\sqrt{13}}i\right)\right)^5 \\ &
= & \left(\sqrt{13}\left(\cos\left(\arctan\frac{2}{3}\right)+i\sin\left(\arctan\frac{2}{3}\right)\right)\right)^5 \\ &
= & \sqrt{13}^5\left(\cos\left(5\arctan\frac{2}{3}\right)+i\sin\left(5\arctan\frac{2}{3}\right)\right) \\ &
= & \sqrt{13}^5\cos\left(5\arctan\frac{2}{3}\right)+i\sqrt{13}^5\sin\left(5\arctan\frac{2}{3}\right) \\ &
= & 169\sqrt{13}\cos\left(5\arctan\frac{2}{3}\right)+i169\sqrt{13}\sin\left(5\arctan\frac{2}{3}\right)\end{array}$
เมื่อเทียบส่วนจริงและส่วนจินตภาพเราจึงได้ว่า $169\sqrt{13}\sin\left(5\arctan\frac{2}{3}\right)=122$ ครับ
__________________
"จงรักตัวเองด้วยการช่วยเหลือผู้อื่น และรักผู้อื่นด้วยการพัฒนาตัวเอง"
<< i'm lovin' it>>
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #198  
Old 22 มีนาคม 2009, 03:57
passer-by passer-by ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 เมษายน 2005
ข้อความ: 1,442
passer-by is on a distinguished road
Default

เกือบ10 เดือนแล้วเหรอเนี่ย

งั้นเฉลยเลยดีกว่า

ข้อ 72

ให้ $ x= \cos(\frac{\pi}{180})+i\sin(\frac{\pi}{180})$

ดังนั้น
$\cos(\frac{k\pi}{180})= \frac{x^k+x^{-k}}{2}$

แล้วเราก็พิจารณา
$ \begin{array}{rcl}\sum_{k=1}^{180} \cos^{2008}(\frac{k\pi}{180}) &=& \frac{1}{2^{2008}}\sum_{k=1}^{180} (x^k+x^{-k})^{2008} \\ &=&\frac{1}{2^{2008}}\sum_{k=1}^{180}\sum_{j=0}^{2008}\binom{2008}{j}x^{2k(j-1004)}\\ &=& \frac{1}{2^{2008}}\sum_{j=0}^{2008}\binom{2008}{j}\sum_{k=1}^{180}x^{2k(j-1004)} \\ &=& \frac{180}{2^{2008}}\binom{2008}{1004} \end{array} $

เอาค่าที่ได้ก่อนหน้า ลบด้วย 1 แล้วหารด้วยสอง ก็จะได้คำตอบครับ
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #199  
Old 22 มีนาคม 2009, 10:50
V.Rattanapon V.Rattanapon ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 ตุลาคม 2007
ข้อความ: 120
V.Rattanapon is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ passer-by View Post
ข้อ 72 นะครับ
หาค่า $$ \sum_{k=1}^{89} \cos^{2008} k^{\circ}$$
กำลังคิดข้อนี้อยู่เลย ไม่ทันละ ว่าจะใช้เอกลักษณ์ที่พิสูจน์ได้คือ \[
\cos ^{2n} x = \frac{1}{{2^{2n - 1} }}\sum\limits_{k = 1}^{n - 1} {\left( \begin{array}{l}
2n \\
k \\
\end{array} \right)} \cos \left( {\left( {2n - 2k} \right)x} \right) + \frac{1}{{2^{2n} }}\left( \begin{array}{l}
2n \\
n \\
\end{array} \right)
\]
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #200  
Old 29 มีนาคม 2009, 14:16
Brownian's Avatar
Brownian Brownian ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 16 มิถุนายน 2005
ข้อความ: 98
Brownian is on a distinguished road
Send a message via MSN to Brownian
Default

ผมมาเติมให้ ว่า
74. จงหาค่า $\sin 1^{\circ}$ (ไม่ใช่รูปทศนิยม)
__________________
"จงรักตัวเองด้วยการช่วยเหลือผู้อื่น และรักผู้อื่นด้วยการพัฒนาตัวเอง"
<< i'm lovin' it>>
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #201  
Old 29 มีนาคม 2009, 20:41
V.Rattanapon V.Rattanapon ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 ตุลาคม 2007
ข้อความ: 120
V.Rattanapon is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Brownian View Post
ผมมาเติมให้ ว่า
74. จงหาค่า $\sin 1^{\circ}$ (ไม่ใช่รูปทศนิยม)
คุณ Brownian มีรูปแบบคำตอบที่ต้องการหรือป่าวครับ เช่น อยู่ในรูปอนุกรมอนันต์ หรือ ... ไม่งั้นคำตอบมีได้กว้างมากครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #202  
Old 30 มีนาคม 2009, 12:38
Brownian's Avatar
Brownian Brownian ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 16 มิถุนายน 2005
ข้อความ: 98
Brownian is on a distinguished road
Send a message via MSN to Brownian
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ V.Rattanapon View Post
คุณ Brownian มีรูปแบบคำตอบที่ต้องการหรือป่าวครับ เช่น อยู่ในรูปอนุกรมอนันต์ หรือ ... ไม่งั้นคำตอบมีได้กว้างมากครับ
เป็นรูปติดกรณฑ์ เศษส่วนครับ เอาเป็นผลสิ้นสุดอ่ะคับ
__________________
"จงรักตัวเองด้วยการช่วยเหลือผู้อื่น และรักผู้อื่นด้วยการพัฒนาตัวเอง"
<< i'm lovin' it>>
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #203  
Old 06 เมษายน 2009, 11:18
Brownian's Avatar
Brownian Brownian ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 16 มิถุนายน 2005
ข้อความ: 98
Brownian is on a distinguished road
Send a message via MSN to Brownian
Default

ข้อ 74
__________________
"จงรักตัวเองด้วยการช่วยเหลือผู้อื่น และรักผู้อื่นด้วยการพัฒนาตัวเอง"
<< i'm lovin' it>>
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #204  
Old 06 เมษายน 2009, 21:56
square1zoa's Avatar
square1zoa square1zoa ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 17 สิงหาคม 2008
ข้อความ: 413
square1zoa is on a distinguished road
Default

โหดนะครับ กว่าจะหา $cos6$ ผมอยากรู้ที่มาเหมือนกันครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #205  
Old 08 เมษายน 2009, 12:11
Brownian's Avatar
Brownian Brownian ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 16 มิถุนายน 2005
ข้อความ: 98
Brownian is on a distinguished road
Send a message via MSN to Brownian
Default

เด่วเฉลยที่มาครับ

$\cos 6^{\circ}=\cos(60^{\circ}-54^{\circ})$ ครับ คุณบัณฑิตฟ้า square1zoa
__________________
"จงรักตัวเองด้วยการช่วยเหลือผู้อื่น และรักผู้อื่นด้วยการพัฒนาตัวเอง"
<< i'm lovin' it>>

08 เมษายน 2009 18:12 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Brownian
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #206  
Old 09 เมษายน 2009, 15:57
square1zoa's Avatar
square1zoa square1zoa ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 17 สิงหาคม 2008
ข้อความ: 413
square1zoa is on a distinguished road
Default

อ่อ เข้าใจแล้วครับ ขอบคุณคุณ Brownian มากๆๆๆๆๆ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #207  
Old 21 เมษายน 2009, 10:28
Brownian's Avatar
Brownian Brownian ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 16 มิถุนายน 2005
ข้อความ: 98
Brownian is on a distinguished road
Send a message via MSN to Brownian
Default

เห็นว่านานมากแล้ว งั้นผมลงแนวคิดเลยละกันครับ
จาก $\cos 6^{\circ}=\frac{\sqrt{3}+\sqrt{15}+\sqrt{10-2\sqrt{5}}}{8}$
$\sin 3^{\circ}=\sqrt{\frac{1-\cos 6^{\circ}}{2}}=\sqrt{\frac{1-\frac{\sqrt{3}+\sqrt{15}+\sqrt{10-2\sqrt{5}}}{8}}{2}}=\frac{\sqrt{8-\sqrt{15}-\sqrt{10-2\sqrt{5}}-\sqrt{3}}}{4}$
$\cos 3^{\circ}=\sqrt{\frac{1+\cos 6^{\circ}}{2}}=\sqrt{\frac{1+\frac{\sqrt{3}+\sqrt{15}+\sqrt{10-2\sqrt{5}}}{8}}{2}}=\frac{\sqrt{8+\sqrt{15}+\sqrt{10-2\sqrt{5}}+\sqrt{3}}}{4}$
และเพราะว่า $4\sin^3 1^{\circ}-3\sin 1^{\circ}+\sin 3^{\circ}=0$
ให้ $\sin 1^{\circ}=x$ และ $\sin 3^{\circ}=k$ เราจะต้องหารากของพหุนาม $4x^3-3x+k\equiv x^3-\frac{3}{4}x+\frac{k}{4}$
และเพราะว่า $-\Delta >0$ แสดงว่าพหุนามมีรากจริงทั้งสามรากและแตกต่างกันทั้งหมด และพหุนามเป็นกรณีลดทอนไม่ได้ (irreduceable case)
เราจึงต้องเขียนคำตอบในรูปรากที่สามของจำนวนเชิงซ้อน โดยวิธีของคาร์ดานจะได้ว่า
$x=\sqrt[3]{-\frac{k}{8}+\sqrt{\frac{k^2}{64}-\frac{1}{64}}}+\sqrt[3]{-\frac{k}{8}-\sqrt{\frac{k^2}{64}-\frac{1}{64}}}$
$=\frac{\sqrt[3]{\sqrt{k^2-1}-k}-\sqrt[3]{\sqrt{k^2-1}+k}}{2}$
$=\frac{\sqrt[3]{-\sin 3^{\circ}+i\cos 3^{\circ}}-\sqrt[3]{\sin 3^{\circ}+i\cos 3^{\circ}}}{2}$ ผิดถูกยังไงช่วยผมแก้ด้วยนะครับ
__________________
"จงรักตัวเองด้วยการช่วยเหลือผู้อื่น และรักผู้อื่นด้วยการพัฒนาตัวเอง"
<< i'm lovin' it>>

21 เมษายน 2009 10:55 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Brownian
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #208  
Old 13 กรกฎาคม 2010, 20:20
passer-by passer-by ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 เมษายน 2005
ข้อความ: 1,442
passer-by is on a distinguished road
Default

เผื่อใครสนใจ เอามาให้คิดเล่นๆครับ

75. Evaluate $$ \sum_{n=1}^{\infty} 4^n \sin^4(\frac{\pi}{2^n}) $$
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว

27 ธันวาคม 2010 17:12 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ passer-by
เหตุผล: add คำตอบ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #209  
Old 07 มกราคม 2011, 19:39
Yuranan Yuranan ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าหยก
 
วันที่สมัครสมาชิก: 05 ธันวาคม 2010
ข้อความ: 175
Yuranan is on a distinguished road
Default

ผมลองทำข้อ 75 ดูนะครับ โดยเริ่มจาก $sin^4(n)=(-4cos(2n)+cos(4n)+3)/8$ จึงได้ว่า $4^nsin^4(\frac{\pi}{2^n})=(-4^{n+1}cos(\frac{\pi}{2^{n-1}})+4^ncos(\frac{\pi}{2^{n-2}})+3\times 4^n)/8$
ดังนั้น $\sum_{n = 0}^{m}4^nsin^4(\frac{\pi}{2^n})=4^msin^2(\frac{\pi}{2^m})$ เมื่อ $m\rightarrow\infty$ จึงได้ $\frac{1}{2^m}\rightarrow0$ และจาก $\lim_{x \to 0}\frac{sin(ax)}{x}=a$ เมื่อ a เป็นค่าคงที่ ดังนั้น $\lim_{m \to \infty}4^msin^2(\frac{\pi}{2^m})=\lim_{m \to \infty}(\frac{sin(\frac{\pi}{2^m})}{\frac{1}{2^m}})^2=\pi^2$ ผมพึ่งสังเกตเห็นว่า คุณ passer-by เริ่มจาก n=1 แต่ผมเริ่มจาก n=0 แต่ก็ให้คำตอบตรงกันเพราะที่ n=0 จะได้ $4^0sin^4(\pi)=0$ ครับ

07 มกราคม 2011 19:43 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Yuranan
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #210  
Old 10 มกราคม 2011, 17:53
Yuranan Yuranan ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าหยก
 
วันที่สมัครสมาชิก: 05 ธันวาคม 2010
ข้อความ: 175
Yuranan is on a distinguished road
Default

คุณ passer-by ครับขอโจทย์อีกได้ไหมครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply


หัวข้อคล้ายคลึงกัน
หัวข้อ ผู้ตั้งหัวข้อ ห้อง คำตอบ ข้อความล่าสุด
Geometry marathon Char Aznable เรขาคณิต 78 26 กุมภาพันธ์ 2018 21:56
Algebra Marathon nooonuii พีชคณิต 199 20 กุมภาพันธ์ 2015 10:08
Calculus Marathon (2) nongtum Calculus and Analysis 134 03 ตุลาคม 2013 16:32
Marathon Mastermander ฟรีสไตล์ 6 02 มีนาคม 2011 23:19
Calculus Marathon nooonuii Calculus and Analysis 222 26 เมษายน 2008 03:52


กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 04:41


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha