Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > ทฤษฎีจำนวน
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #61  
Old 07 มกราคม 2007, 23:41
shinn's Avatar
shinn shinn ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 ธันวาคม 2006
ข้อความ: 56
shinn is on a distinguished road
Post

ตอบนะครับ ผิดข้อไหนบอกด้วยนะครับผม
h a (mod $F_0$.$F_1$.$F_2$.$F_3$.$F_4$.$F_5$)
พิจารณา เซต S = { h>1 l h a (mod $F_0$.$F_1$.$F_2$.$F_3$.$F_4$.$F_5$)} ถามว่า

1.เขียน S แบบแจกแจง
S = {a,a+$F_0$.$F_1$.$F_2$.$F_3$.$F_4$.$F_5$,a+2.$F_0$.$F_1$.$F_2$.$F_3$.$F_4$.$F_5$,a+3.$F_0$.$F_1$.$F_2$.$F_3$.$F_4$.$F_5$,...}

2.สมาชิกทุกตัวเป้นจำนวน Sierpinski numbers หรือไม่

เป็น โดยข้อ 3ที่เราพิสูจน์ได้ใช่ไหมครับ


3.เซต S เป็น arithmetic progression หรือไม่

น่าจะเป็นครับ แต่ไม่รู้จะแสดงยังไงว่า gcd(a,$F_0$.$F_1$.$F_2$.$F_3$.$F_4$.$F_5$) = 1
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #62  
Old 08 มกราคม 2007, 00:09
warut warut ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 พฤศจิกายน 2001
ข้อความ: 1,627
warut is on a distinguished road
Smile

อ้างอิง:
ข้อความเดิมของคุณ shinn:
2.สมาชิกทุกตัวเป้นจำนวน Sierpinski numbers หรือไม่

เป็น โดยข้อ 3ที่เราพิสูจน์ได้ใช่ไหมครับ
ที่ถูกคือไม่ใช่ครับ เพราะมีสมาชิกบางตัวเป็นจำนวนคู่ ซึ่งถ้าเราเพิ่มเงื่อนไข $h\equiv1\pmod2$ เข้าไปอีกอันก็จะตัดเรื่องนี้ไปได้ แต่ไม่จำเป็นต้องทำก็เพียงพอที่จะทำการพิสูจน์ต่อไปได้ครับ
อ้างอิง:
ข้อความเดิมของคุณ shinn:
3.เซต S เป็น arithmetic progression หรือไม่

น่าจะเป็นครับ แต่ไม่รู้จะแสดงยังไงว่า gcd(a,$F_0$.$F_1$.$F_2$.$F_3$.$F_4$.$F_5$) = 1
gcd จะเท่ากับ 1 หรือไม่ก็ไม่เห็นเกี่ยวกับว่าจะเป็น A.P. (ลำดับเลขคณิต) หรือไม่เลยนี่ครับ การแสดงว่า gcd = 1 ก็ดูได้จากว่า $a$ มันมาจาก system of linear congruences ข้างบนไงครับ

แนวทางการพิสูจน์เราก็พูดกันไปหมดแล้ว คิดว่าคงไม่มีปัญหาอะไรอีกแล้วล่ะครับ ที่เหลือก็แค่เขียนรายงาน ซึ่งไม่ยากเลยถ้าคุณ shin เข้าใจการพิสูจน์นี้จริงๆ และการพิสูจน์นี้ก็ใช้ความรู้ที่พื้นฐานสุดๆแล้ว ขอให้โชคดีครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #63  
Old 08 มกราคม 2007, 10:25
shinn's Avatar
shinn shinn ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 ธันวาคม 2006
ข้อความ: 56
shinn is on a distinguished road
Post

ข้อ 3
กรณีที่1.) 32 หาร n ไม่ลงตัว
เลือก h1 (mod$F_0$.$F_1$.$F_2$.$F_3$.$F_4$)
จะได้ว่า h.$2^n$+1เป็นจำนวนประกอบ โดยข้อ 2

กรณีที่2.) 32 หาร n ลงตัว นั้นคือ n = 32t เมื่อ t เป็นจำนวนเต็มบวก
กรณีที่2.1) ถ้า t เป็นจำนวนเต็มคี่
เลือก h 1 (mod641)
จะได้ว่า h.$2^n$+1เป็นจำนวนประกอบ

กรณีที่2.2) ถ้า t เป็นจำนวนเต็มคู่
เลือก h -1 (mod$F_5$/641)
จะได้ว่า h.$2^n$+1เป็นจำนวนประกอบ

จากทั้ง 2 กรณี ได้ระบบ
h1 (mod$F_0$.$F_1$.$F_2$.$F_3$.$F_4$)
h 1 (mod641)
h -1 (mod$F_5$/641)
เนื่องจาก gcd($F_0$.$F_1$.$F_2$.$F_3$.$F_4$,641)=gcd($F_0$.$F_1$.$F_2$.$F_3$.$F_4$,$F_5$/641)=gcd($F_5$/641,641)=1
โดย Chinese Remainder Theorem จะได้ว่า ระบบนี้มีผลเฉลยร่วมกันเพียงผลเฉลยเดียว ในมอดุโล$F_0$.$F_1$.$F_2$.$F_3$.$F_4$.$F_5$
นั่นคือ มี a ที่ h a (mod$F_0$.$F_1$.$F_2$.$F_3$.$F_4$.$F_5$ ) แล้ว h.$2^n$+1เป็นจำนวนประกอบ
...............
ต่อไปจะแสดงว่า จำนวน sierpinski number ที่เป็นจำนวนเฉพาะมีอยู่เป็นอนันต์
พิจารณา เซต S = {h > 1 l h a (mod$F_0$.$F_1$.$F_2$.$F_3$.$F_4$.$F_5$ ) }
นั่นคือ S = {a,a+$F_0$.$F_1$.$F_2$.$F_3$.$F_4$.$F_5$,a+2.$F_0$.$F_1$.$F_2$.$F_3$.$F_4$.$F_5$,a+3.$F_0$.$F_1$.$F_2$.$F_3$.$F_4$.$F_5$,...}

คำถามที่ 1.ตรงนี้เราต้องเพิ่มเงื่อนไข h 1 (mod 2) ไหมครับพี่
คำถามที่ 2. เราต้องแสดงไหมครับว่า gcd(a,$F_0$.$F_1$.$F_2$.$F_3$.$F_4$.$F_5$) = 1 เพราะ Dirichlet's Theorem on primes in Arithmetic Progressions บอกไว้ว่า
"If a and b are relatively prime positive integers then the arithmetic progression a,a+b,a+2b,a+3b,...contains infinitely many primes "
ขอบคุณครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #64  
Old 08 มกราคม 2007, 10:34
shinn's Avatar
shinn shinn ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 ธันวาคม 2006
ข้อความ: 56
shinn is on a distinguished road
Post

คำถามที่ 3. เราพิสูจน์มาถึงข้อ 3 นี่เป็นการแสดงว่า มี sierpinski number ที่เป็นจำนวนประกอบอยู่เป็นอนันต์ไหมครับ

คำถามที่ 4. เราพิสูจน์เกี่ยวกับจำนวนประกอบมาทั้งหมด อยู่ๆเราใช้ CRT มาอ้างเพื่อให้ได้ว่ามีจำนวนเฉพาะอยู่เป็นอนันต์ ผมยังไม่เข้าใจเลยครับ หรือว่า CRT ขอแค่มีลำดับเลขคณิต และหรม.เป็น 1 ก็พอแล้ว ซึ่งเราก้เลยมาพิจารณาลำดับที่เราได้มาคือ S ซึ่งเป็นลำดับของจำนวนประกอบ

08 มกราคม 2007 10:36 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ shinn
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #65  
Old 08 มกราคม 2007, 18:01
warut warut ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 พฤศจิกายน 2001
ข้อความ: 1,627
warut is on a distinguished road
Post

อ้างอิง:
ข้อความเดิมของคุณ shinn:
คำถามที่ 1.ตรงนี้เราต้องเพิ่มเงื่อนไข h 1 (mod 2) ไหมครับพี่
ตามใจครับ แล้วแต่ชอบ แต่ยังไงจำนวนเฉพาะ (ยกเว้น 2) มันก็เป็นจำนวนคี่อยู่แล้ว
อ้างอิง:
ข้อความเดิมของคุณ shinn:
คำถามที่ 2. เราต้องแสดงไหมครับว่า gcd(a,$F_0$.$F_1$.$F_2$.$F_3$.$F_4$.$F_5$) = 1 เพราะ Dirichlet's Theorem on primes in Arithmetic Progressions บอกไว้ว่า
"If a and b are relatively prime positive integers then the arithmetic progression a,a+b,a+2b,a+3b,...contains infinitely many primes "
ต้องครับ
อ้างอิง:
ข้อความเดิมของคุณ shinn:
คำถามที่ 3. เราพิสูจน์มาถึงข้อ 3 นี่เป็นการแสดงว่า มี sierpinski number ที่เป็นจำนวนประกอบอยู่เป็นอนันต์ไหมครับ
ใช่ครับ เพราะ non-constant A.P. of integers ทุกอันย่อมมีจำนวนประกอบอยู่เป็นอนันต์แน่ๆ
อ้างอิง:
ข้อความเดิมของคุณ shinn:
คำถามที่ 4. เราพิสูจน์เกี่ยวกับจำนวนประกอบมาทั้งหมด อยู่ๆเราใช้ CRT มาอ้างเพื่อให้ได้ว่ามีจำนวนเฉพาะอยู่เป็นอนันต์ ผมยังไม่เข้าใจเลยครับ หรือว่า CRT ขอแค่มีลำดับเลขคณิต และหรม.เป็น 1 ก็พอแล้ว ซึ่งเราก้เลยมาพิจารณาลำดับที่เราได้มาคือ S ซึ่งเป็นลำดับของจำนวนประกอบ
ไม่เข้าใจที่คุณ shin พูดเลยครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #66  
Old 08 มกราคม 2007, 21:12
shinn's Avatar
shinn shinn ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 ธันวาคม 2006
ข้อความ: 56
shinn is on a distinguished road
Post

ต่อไปจะแสดงว่า จำนวน sierpinski number ที่เป็นจำนวนเฉพาะมีอยู่เป็นอนันต์

คำถามที่ 5
ผมต้องทำยังไงครับ 5555+++ เหมือนจะเข้าใจแต่ก็...หลังจากนี้ผมยังเหลืออีกหลายคำถามเลยครับ อย่าเพิ่งเหนื่อยใจนะครับพี่

คำถามที่ 6
จำนวน sierpinski number ที่เป็นจำนวนเฉพาะ ก็คือ จำนวนเต็มบวกคี่ h ที่ทำให้ h.$2^n$+1 เป็นจำนวนเฉพาะ ทุก n ใช่ไหมครับ

08 มกราคม 2007 21:29 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ shinn
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #67  
Old 08 มกราคม 2007, 23:39
warut warut ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 พฤศจิกายน 2001
ข้อความ: 1,627
warut is on a distinguished road
Icon18

อ้างอิง:
ข้อความเดิมของคุณ shinn:
คำถามที่ 6
จำนวน sierpinski number ที่เป็นจำนวนเฉพาะ ก็คือ จำนวนเต็มบวกคี่ h ที่ทำให้ h.$2^n$+1 เป็นจำนวนเฉพาะ ทุก n ใช่ไหมครับ
ไปกันใหญ่แล้วครับ พอมาถึงตอนจบก็ไม่รู้เสียแล้วว่า Sierpinski number คืออะไร ผมก็คงช่วยอะไรไม่ได้มาก นอกจากจะบอกว่าให้ไปทบทวนให้เข้าใจเสียก่อนว่า Sierpinski number คืออะไรกันแน่นะครับ

อ้อ...อีกอย่างคือคำว่า "Sierpinski number" ตัว S ต้องเป็นตัวใหญ่เสมอครับเพราะมาจากชื่อคน
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #68  
Old 08 มกราคม 2007, 23:58
shinn's Avatar
shinn shinn ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 ธันวาคม 2006
ข้อความ: 56
shinn is on a distinguished road
Post

Sierpinski number คือจำนวนเต็มคี่ k ที่ทำให้ k.$2^n$+1 เป็นจำนวนประกอบ สำหรับทุก n

ข้อ 1 ถึง ข้อ 3 หมายถึงมี k ตัวนี้ที่เป็นจำนวนประกอบ ที่ทำให้ k.$2^n$+1 เป็นจำนวนประกอบ สำหรับทุก n
ส่วนที่จะพิสูจน์ว่า Sierpinski number ที่เป็นจำนวนเฉพาะ มีอยู่เป็นอนันต์ นั่นคือ k ตัวนี้ที่เป็นจำนวนเฉพาะ ที่ทำให้ k.$2^n$+1 เป็นจำนวนประกอบ สำหรับทุก n ใช่ไหมครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #69  
Old 09 มกราคม 2007, 00:04
shinn's Avatar
shinn shinn ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 ธันวาคม 2006
ข้อความ: 56
shinn is on a distinguished road
Post

การพิสูจน์ว่ามีจำนวน Sierpinski ที่เป็นจำนวนเฉพาะ อยู่เป้นอนันต์ เหมือนจะเสร็จแล้วใช่ไหมครับ
งง...อยู่ๆๆก็จบ 5555++
การพิสูจน์ข้อ 1-3 เป็นการพิสูจน์ว่า มีจำนวน Sierpinski ที่เป็นจำนวนประกอบ อยู่เป้นอนันต์ ใช่ไหมครับ
ต่อมาก็จะแสดงว่า มีจำนวน Sierpinski ที่เป็นจำนวนเฉพาะ อยู่เป้นอนันต์ โดยใช้ Dirichlet's Theorem on Primes in Arithmetic Progressions .ใช่ไหมครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #70  
Old 09 มกราคม 2007, 00:53
shinn's Avatar
shinn shinn ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 ธันวาคม 2006
ข้อความ: 56
shinn is on a distinguished road
Post

ผมเหลือแค่แสดงว่า gcd(a,$F_0$.$F_1$.$F_2$.$F_3$.$F_4$) = 1 ใช่ไหมครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #71  
Old 09 มกราคม 2007, 01:26
warut warut ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 พฤศจิกายน 2001
ข้อความ: 1,627
warut is on a distinguished road
Smile

อ้างอิง:
ข้อความเดิมของคุณ shinn:
Sierpinski number คือจำนวนเต็มคี่ k ที่ทำให้ k.$2^n$+1 เป็นจำนวนประกอบ สำหรับทุก n
$k$ เป็น จำนวนคี่บวก และ $n$ เป็นจำนวนนับครับ
อ้างอิง:
ข้อความเดิมของคุณ shinn:
การพิสูจน์ข้อ 1-3 เป็นการพิสูจน์ว่า มีจำนวน Sierpinski ที่เป็นจำนวนประกอบ อยู่เป้นอนันต์ ใช่ไหมครับ
ไม่ใช่ครับ การพิสูจน์ข้อ 1-3 ที่ให้ไว้ตั้งแต่แรกนั้น เป็นการพิสูจน์การมีอยู่เป็นอนันต์ของ Sierpinski number โดยไม่ได้คำนึงถึงว่ามันเป็นจำนวนเฉพาะหรือจำนวนประกอบเลยครับ
อ้างอิง:
ข้อความเดิมของคุณ shinn:
ผมเหลือแค่แสดงว่า gcd(a,$F_0$.$F_1$.$F_2$.$F_3$.$F_4$) = 1 ใช่ไหมครับ
ไม่ใช่ครับ ต้องเป็น $\gcd(a,F_0F_1F_2F_3F_4F_5)=1$ ซึ่งง่ายมากเพราะเป็นผลโดยตรงจากวิธีที่เราสร้าง $a$ ขึ้นมาครับ

อันที่ผมไม่ตอบคือคิดว่าถูกแล้วครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #72  
Old 10 มกราคม 2007, 12:45
shinn's Avatar
shinn shinn ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 ธันวาคม 2006
ข้อความ: 56
shinn is on a distinguished road
Post

พี่ครับมีตัวอย่างของ Sierpinski number ( h )
กรณี h เป็นจำนวนประกอบ
กรณี h เป็นจำนวนเฉพาะ

ใหมครับ


ปล. แสดงว่า ข้อ1 -3 แสดงแค่ว่า จำนวน Sierpinski มีอยู่เป็นอนันต์ เท่านั้น ใช่ไหมครับ
แล้วถ้าจะแสดง ว่า h ที่เป็นจำนวนประกอบ มีอยูเป็นอนันต์ ก็ใช้ อะไรต่อครับ
ถ้าจะแสดงว่า h ที่เป็นจำนวนเฉพาะ มีอยู่เป็นอนันต์ เราจะใช้ Dirichlet's Theorem on primes in Arithmetic Progressions ใช่ไหมครับ ก็คือ แสดงว่า gcd(a;$F_0$.$F_1$.$F_2$.$F_3$.$F_4$.$F_5$)=1 แล้วลำดับที่ได้เป็น จำวน Sierpinski ทั้งหมดแล้วเหรอครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #73  
Old 10 มกราคม 2007, 17:38
warut warut ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 พฤศจิกายน 2001
ข้อความ: 1,627
warut is on a distinguished road
Smile

อ้างอิง:
ข้อความเดิมของคุณ shinn:
พี่ครับมีตัวอย่างของ Sierpinski number ( h )
กรณี h เป็นจำนวนประกอบ
กรณี h เป็นจำนวนเฉพาะ

ใหมครับ
เป็นคำถามที่แปลกจัง ไม่เหมือนทุกครั้งที่คุณ shin เคยถาม

จะเอาแบบไหนล่ะครับ Sierpinski number ใดๆก็ได้ หรือต้องเอาที่มาจากการสร้างของเรา ถ้าเอามาจากการพิสูจน์นั่นก็จะมีขนาดใหญ่หน่อยนะ

ที่เหลือเดี๋ยวมาตอบต่อทีหลังเด้อ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #74  
Old 10 มกราคม 2007, 17:47
shinn's Avatar
shinn shinn ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 ธันวาคม 2006
ข้อความ: 56
shinn is on a distinguished road
Post

เอาแบบไหนก็ได้ครับ เผื่อดูตัวอย่างแล้วจะได้เข้าใจการพิสูจน์มากขึ้นครับ แน่ๆๆ อาจารย์ต้องให้ยกตัวอย่างตอนนำเสนอครับ ขอบคุณครับ
ปล. อย่างลืมตอบอีกหลายๆๆคำถามที่ถามไปนะครับพี่
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #75  
Old 10 มกราคม 2007, 18:10
warut warut ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 พฤศจิกายน 2001
ข้อความ: 1,627
warut is on a distinguished road
Smile

ไปดูที่นี่ครับ แล้วเช็คดูเองนะว่าตัวไหนเป็น prime ตัวไหนเป็น composite
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply


หัวข้อคล้ายคลึงกัน
หัวข้อ ผู้ตั้งหัวข้อ ห้อง คำตอบ ข้อความล่าสุด
ปัญหาชิงรางวัลข้อที่ 23: Number Theory once more warut คณิตศาสตร์อุดมศึกษา 17 28 ธันวาคม 2011 20:38
ช่วยคิดหน่อยครับ เกี่ยวกับ Number Theory kanji ทฤษฎีจำนวน 0 08 กันยายน 2006 18:22
ปัญหาชิงรางวัลข้อที่ 5: From Number Theory Marathon warut คณิตศาสตร์อุดมศึกษา 9 17 มกราคม 2006 18:47
ปัญหา Number Theory kanji ทฤษฎีจำนวน 4 16 พฤศจิกายน 2005 20:30
ขอลองตั้งคำถามบ้างครับ (Number theory) Nay ทฤษฎีจำนวน 3 15 พฤษภาคม 2005 13:40


กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 20:00


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha