Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม. ต้น
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #91  
Old 09 มกราคม 2011, 15:56
Influenza_Mathematics's Avatar
Influenza_Mathematics Influenza_Mathematics ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 27 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 568
Influenza_Mathematics is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ คนอยากเก่ง View Post
เอิ่ม......ไม่ใช่ครับ
ผมอยากถามต่อว่าจะทำอย่างไรครับ
ผมไม่เก่งขนาดนั้นครับ
เก่งไม่เก่งไม่สำคัญ สำคัญที่ความพยายามครับ ผมเพิ่งตั้งคำถามเมื่อวานเองนะ
__________________
ขว้างมุขเสี่ยว ๆ ใส่กันน่าจะมันแฮะ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #92  
Old 09 มกราคม 2011, 16:43
คนอยากเก่ง's Avatar
คนอยากเก่ง คนอยากเก่ง ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 03 มีนาคม 2010
ข้อความ: 834
คนอยากเก่ง is on a distinguished road
Default

ผมคิดมานานแล้วจริงครับต่อจากคุณamankrisแล้วคิดต่อไม่ออกจริงๆครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #93  
Old 09 มกราคม 2011, 17:41
Scylla_Shadow's Avatar
Scylla_Shadow Scylla_Shadow ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 กุมภาพันธ์ 2009
ข้อความ: 1,151
Scylla_Shadow is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Influenza_Mathematics View Post
ตั้งง่าย ๆ ละกัน
$(a-b)^2+(a-\dfrac{5}{3})^2+(b+\dfrac{4}{3})^2 = 3\dfrac{1}{9}$ ค่าของ $250a-202b$
คืออยากจะบอกว่าไอ้ก้อนนี้อ่ะครับ
$(a-b)^2+(a-\dfrac{5}{3})^2+(b+\dfrac{4}{3})^2 = 3\dfrac{1}{9}$
คือ ถ้าลงกราฟจะเป็นรุปวงรี ซึ่งทำให้มีคำตอบเป็นอนัต์ครับ

ปล. ถ้าโจทย์เอามาจาก shortlist mathcenter contest ซักครั้งนึง จะพบว่าเป็นก้อนเดียวกัน
$(a-b)^2+(a-\dfrac{5}{3})^2+(b+\dfrac{4}{3})^2 = 3\dfrac{1}{9}$
มันเป็นความเมาของผมเองที่บวกเลขผิด ซึ่งเพิ่งมาเห็นได้ไม่นานนี้ว่า
ถ้าจะให้มีคำตอบเดียวต้องแก้จาก $3\frac{1}{9}$ เป็น 3 ครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #94  
Old 09 มกราคม 2011, 19:34
BLACK-Dragon's Avatar
BLACK-Dragon BLACK-Dragon ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 04 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 719
BLACK-Dragon is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Scylla_Shadow View Post
คืออยากจะบอกว่าไอ้ก้อนนี้อ่ะครับ
$(a-b)^2+(a-\dfrac{5}{3})^2+(b+\dfrac{4}{3})^2 = 3\dfrac{1}{9}$
คือ ถ้าลงกราฟจะเป็นรุปวงรี ซึ่งทำให้มีคำตอบเป็นอนัต์ครับ

ปล. ถ้าโจทย์เอามาจาก shortlist mathcenter contest ซักครั้งนึง จะพบว่าเป็นก้อนเดียวกัน
$(a-b)^2+(a-\dfrac{5}{3})^2+(b+\dfrac{4}{3})^2 = 3\dfrac{1}{9}$
มันเป็นความเมาของผมเองที่บวกเลขผิด ซึ่งเพิ่งมาเห็นได้ไม่นานนี้ว่า
ถ้าจะให้มีคำตอบเดียวต้องแก้จาก $3\frac{1}{9}$ เป็น 3 ครับ
ถ้าลองเปลี่ยนเป็น 3 ผมได้พอดีเลย แต่ตามโจทย์แล้วผมขอลองคิดแล้วกัน
เพราะคุณ Influenze_Mathematics บอกแล้วก็น่าจะได้ล่ะครับขอลองทำดูใหม่ละกันครับ
$(a-b)^2+(a-\dfrac{5}{3})^2+(b+\dfrac{4}{3})^2 = 3$
$a^2-2ab+b^2-\frac{5a}{3}+\frac{4b}{3}+\frac{7}{9}=0$
$[a^2-\frac{a(3b+5)}{3}+(\frac{3b+5}{6})^2]+b^2+\frac{4b}{3}+\frac{7}{9}-(\frac{3b+5}{6})^2=0$
$[a-(\frac{3b+5}{6})]^2+\frac{1}{36}(27b^2+18b+3)=0$
$[a-(\frac{3b+5}{6})]^2+\frac{1}{12}(3b+1)^2=0$

09 มกราคม 2011 20:00 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ BLACK-Dragon
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #95  
Old 09 มกราคม 2011, 20:40
คนอยากเก่ง's Avatar
คนอยากเก่ง คนอยากเก่ง ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 03 มีนาคม 2010
ข้อความ: 834
คนอยากเก่ง is on a distinguished road
Default

ถ้าเป็น3ตอบ204หรือเปล่าครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #96  
Old 10 มกราคม 2011, 18:25
BLACK-Dragon's Avatar
BLACK-Dragon BLACK-Dragon ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 04 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 719
BLACK-Dragon is on a distinguished road
Default

รู้สึกเงียบเหงายังไงก็ไม่รู้ครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #97  
Old 10 มกราคม 2011, 19:16
Influenza_Mathematics's Avatar
Influenza_Mathematics Influenza_Mathematics ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 27 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 568
Influenza_Mathematics is on a distinguished road
Default

ขอโทษเกี่ยวกับโจทย์ด้วยครับ (คิดเลขผิดอย่างมหันต์) ผมขอไถ่โทษด้วยการสละสิทธิ์ตั้งโจทย์และโมฆะโจทย์ข้อนี้
ปล. ช่วงนี้ไม่ค่อยว่างนะครับ เพราะสอบ mid อยู่ = =
__________________
ขว้างมุขเสี่ยว ๆ ใส่กันน่าจะมันแฮะ

10 มกราคม 2011 19:17 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Influenza_Mathematics
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #98  
Old 10 มกราคม 2011, 20:02
คนอยากเก่ง's Avatar
คนอยากเก่ง คนอยากเก่ง ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 03 มีนาคม 2010
ข้อความ: 834
คนอยากเก่ง is on a distinguished road
Default

ขอละกันครับ
$a+b+c=a^2+b^2+c^2=a^3+b^3+c^3$
จงหา $a^5+b^5+c^5$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #99  
Old 12 มกราคม 2011, 07:48
Amankris's Avatar
Amankris Amankris ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,492
Amankris is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ คนอยากเก่ง View Post
ขอละกันครับ
$a+b+c=a^2+b^2+c^2=a^3+b^3+c^3$
จงหา $a^5+b^5+c^5$
คาดว่าคงลอกโจทย์มาไม่ครบ แล้วก็ไม่ทราบว่าต้องการคำตอบแบบใด (ตอบเป็นช่วง,รูปทั่วไป,ติดตัวแปรเดิม)

ลองทำรูปทั่วไปดูละกัน
นิยาม $S_n=a^n+b^n+c^n$

$k=a\ +b\ +c\ \ =S_1$
$k=a^2+b^2+c^2=S_2$
$k=a^3+b^3+c^3=S_3$


ลองมาหา $ab+bc+ca$ และ $abc$ ดูก่อน
จากเอกลักษณ์ $$a^{n+2}+b^{n+2}+c^{n+2}=(a+b+c)(a^{n+1}+b^{n+1}+c^{n+1})-(ab+bc+ca)(a^n+b^n+c^n)+abc(a^{n-1}+b^{n-1}+c^{n-1})$$
หรือก็คือ
$$S_{n+2}=(a+b+c)S_{n+1}-(ab+bc+cs)S_n+(abc)S_{n-1}$$

นำ $ab+bc+ca$ และ $abc$ ไปแทนในเอกลักษณ์เพื่อหาคำตอบ

$\begin{array}{rl}
S_4&=(a+b+c)S_3-(ab+bc+ca)S_2+(abc)S_1\\
&\\
&=k^2-\left(\dfrac{k^2-k}{2}\right)k+\left(\dfrac{k^3-3k^2+2k}{6}\right)k\\
&\\
&=\dfrac{k^4-6k^3+11k^2}{6}\\
&\\
S_5&=(a+b+c)S_4-(ab+bc+ca)S_3+(abc)S_2\\
&\\
&=k\left(\dfrac{k^4-6k^3+11k^2}{6}\right)-\left(\dfrac{k^2-k}{2}\right)k+\left(\dfrac{k^3-3k^2+2k}{6}\right)k\\
&\\
&=\dfrac{k^5-5k^4+5k^3+5k^2}{6}
\end{array}$


คาดการณ์ว่า Universe เป็นจำนวนจริง

ลองมาดูว่า $k$ เป็นอะไรได้บ้าง โดยการเช็ค $\textrm {Discriminant}$ ของพหุนามกำลังสาม

12 มกราคม 2011 21:15 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Amankris
เหตุผล: เรียงลำดับผิด
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #100  
Old 12 มกราคม 2011, 20:32
คนอยากเก่ง's Avatar
คนอยากเก่ง คนอยากเก่ง ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 03 มีนาคม 2010
ข้อความ: 834
คนอยากเก่ง is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Amankris View Post
คาดว่าคงลอกโจทย์มาไม่ครบ แล้วก็ไม่ทราบว่าต้องการคำตอบแบบใด (ตอบเป็นช่วง,รูปทั่วไป,ติดตัวแปรเดิม)

ลองทำรูปทั่วไปดูละกัน
นิยาม $S_n=a^n+b^n+c^n$

$k=a\ +b\ +c\ \ =S_1$
$k=a^2+b^2+c^2=S_2$
$k=a^3+b^3+c^3=S_3$


คาดการณ์ว่า Universe เป็นจำนวนจริง (ไม่เช่นนั้นคงไม่มีคำตอบ)

ลองมาหา $ab+bc+ca$ และ $abc$ ดูก่อน
จากเอกลักษณ์ $$a^{n+2}+b^{n+2}+c^{n+2}=(a+b+c)(a^{n+1}+b^{n+1}+c^{n+1})-(ab+bc+ca)(a^n+b^n+c^n)+abc(a^{n-1}+b^{n-1}+c^{n-1})$$
หรือก็คือ
$$S_{n+2}=(a+b+c)S_{n+1}-(ab+bc+cs)S_n+(abc)S_{n-1}$$

นำ $ab+bc+ca$ และ $abc$ ไปแทนในเอกลักษณ์เพื่อหาคำตอบ

$\begin{array}{rl}
S_4&=(a+b+c)S_3-(ab+bc+ca)S_2+(abc)S_1\\
&\\
&=k^2-\left(\dfrac{k^2-k}{2}\right)k+\left(\dfrac{k^3-3k^2+2k}{6}\right)k\\
&\\
&=\dfrac{k^4-6k^3+11k^2}{6}\\
&\\
S_5&=(a+b+c)S_4-(ab+bc+ca)S_3+(abc)S_2\\
&\\
&=k\left(\dfrac{k^4-6k^3+11k^2}{6}\right)-\left(\dfrac{k^2-k}{2}\right)k+\left(\dfrac{k^3-3k^2+2k}{6}\right)k\\
&\\
&=\dfrac{k^5-5k^4+5k^3+5k^2}{6}
\end{array}$


ลองมาดูว่า $k$ เป็นอะไรได้บ้าง โดยการเช็ค $\textrm {Discriminant}$ ของพหุนามกำลังสาม
ตอบ 75หรือเปล่าครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #101  
Old 12 มกราคม 2011, 21:12
Amankris's Avatar
Amankris Amankris ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,492
Amankris is on a distinguished road
Default

@#100

ไม่ทราบว่าได้อ่านหรือยังครับ

คำตอบมีได้อนันต์ค่าครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #102  
Old 12 มกราคม 2011, 21:16
คนอยากเก่ง's Avatar
คนอยากเก่ง คนอยากเก่ง ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 03 มีนาคม 2010
ข้อความ: 834
คนอยากเก่ง is on a distinguished road
Default

ครับผมๆ
ผมลองทำแบบวิธีสูตรลดทอนของนิวตัน แล้วได้ 75 อะครับ
ไม่ทราบดูอย่างไรครับว่ามีอนันต์ค่าครับ

12 มกราคม 2011 21:16 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ คนอยากเก่ง
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #103  
Old 12 มกราคม 2011, 21:20
Amankris's Avatar
Amankris Amankris ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,492
Amankris is on a distinguished road
Default

@#102

ถามจริงๆ ได้อ่านหรือยังครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #104  
Old 13 มกราคม 2011, 18:23
BLACK-Dragon's Avatar
BLACK-Dragon BLACK-Dragon ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 04 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 719
BLACK-Dragon is on a distinguished road
Default

$\displaystyle{a^{n+2}+b^{n+2}+c^{n+2}=(a+b+c)(a^{n+1}+b^{n+1}+c^{n+1})-(ab+bc+ca)(a^n+b^n+c^n)+abc(a^{n-1}+b^{n-1}+c^{n-1})}$
เอกลักษณ์นี้ใช้ได้ทุกๆ n ที่เป็นจำนวนเต็ม ไหมครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #105  
Old 15 มกราคม 2011, 20:32
Influenza_Mathematics's Avatar
Influenza_Mathematics Influenza_Mathematics ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 27 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 568
Influenza_Mathematics is on a distinguished road
Default

เงียบจัง ผมตั้งต่อละกันนะ -_-''
จงหาจำนวนนับ $n$ ที่มากที่สุด ที่มีสมบัติว่า เราสามารถแบ่งจำนวนนับตั้งแต่ $1$ ถึง $n$ ออกเป็นสองกลุ่มได้ โดยที่ผลบวกของจำนวนสองจำนวนใดๆ ที่อยู่ในกลุ่มเดียวกันจะต้องไม่เป็นกำลังสองสมบูรณ์ ( เอามาจาก สอวน. ,สอวน. เอามาจากไหนก็ไม่รู้)
__________________
ขว้างมุขเสี่ยว ๆ ใส่กันน่าจะมันแฮะ

15 มกราคม 2011 20:33 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Influenza_Mathematics
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 23:57


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha