Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > พีชคณิต
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #121  
Old 22 ตุลาคม 2006, 01:02
nongtum's Avatar
nongtum nongtum ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 เมษายน 2005
ข้อความ: 3,246
nongtum is on a distinguished road
Smile

อ้างอิง:
ข้อความเดิมของคุณ Mastermander:
46.Evaluate
$$\tan 46^\circ+\tan44^\circ-\tan1^\circ(\tan46^\circ-\tan44^\circ)$$
จาก $$1=\frac{\tan 46^\circ-\tan1^\circ}{1+\tan46^\circ\tan1^\circ}
=\frac{\tan 44^\circ+\tan1^\circ}{1-\tan44^\circ\tan1^\circ}$$
จะได้ $1=\tan46^\circ-\tan1^\circ-\tan46^\circ\tan1^\circ
=\tan44^\circ+\tan1^\circ+\tan44^\circ\tan1^\circ$
ดังนั้น $2=\tan46^\circ+\tan44^\circ-\tan1^\circ(\tan46^\circ-\tan44^\circ)$

47. (ขออนุญาตไม่แปล กลัวแปลผิด)
Whenever $x$ is in domain of $\tan x$, $\sin^2x\le\tan^2x$. Is it true in these cases that for any positive integer $n$, $$\sin^2x+\sin^4x+\sin^6x+\cdots+\sin^{2n}x\le\tan^2x\ ?$$
__________________
คนไทยร่วมใจอย่าใช้ภาษาวิบัติ
ฝึกพิมพ์สัญลักษณ์สักนิด ชีวิต(คนตอบและคนถาม)จะง่ายขึ้นเยอะ (จริงๆนะ)

Stay Hungry. Stay Foolish.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #122  
Old 23 ตุลาคม 2006, 15:51
Timestopper_STG's Avatar
Timestopper_STG Timestopper_STG ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 22 มกราคม 2006
ข้อความ: 256
Timestopper_STG is on a distinguished road
Send a message via MSN to Timestopper_STG
Post

ข้อ47นี่ทำไมดูง่ายผิดปกติอ่ะครับหรือว่าผมทำอะไรผิด
ปล. ผมพึ่งหัดใช้ LATEX ผิดพลาดประการใดขออภัยด้วยนะครับ
$\because|\sin^2x|\le1$และ$\sin^2x\ge0$
$\sin^2x+\sin^4x+\ldots+\sin^{2n}x\le\sin^2x+\sin^4x+\ldots$
$\sin^2x+\sin^4x+\ldots+\sin^{2n}x\le\frac{\sin^2x}{1-\sin^2x}$
$\therefore\sin^2x+\sin^4x+\ldots+\sin^{2n}x\le\tan^2x$
__________________
$$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x-b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$
BUT
$$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x+b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\frac{\pi ab}{a^{2}+b^{2}}+\frac{a^{2}-b^{2}}{a^{2}+b^{2}}\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #123  
Old 23 ตุลาคม 2006, 16:16
nongtum's Avatar
nongtum nongtum ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 เมษายน 2005
ข้อความ: 3,246
nongtum is on a distinguished road
Smile

ไม่ผิดหรอกครับ คุณ Timestopper_STG เพราะผมจงใจให้ข้อนี้มันง่ายเองแหละ ยังไงช่วยมาตั้งโจทย์ข้อต่อไปด้วยครับ
__________________
คนไทยร่วมใจอย่าใช้ภาษาวิบัติ
ฝึกพิมพ์สัญลักษณ์สักนิด ชีวิต(คนตอบและคนถาม)จะง่ายขึ้นเยอะ (จริงๆนะ)

Stay Hungry. Stay Foolish.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #124  
Old 24 ตุลาคม 2006, 17:42
Timestopper_STG's Avatar
Timestopper_STG Timestopper_STG ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 22 มกราคม 2006
ข้อความ: 256
Timestopper_STG is on a distinguished road
Send a message via MSN to Timestopper_STG
Talking

โจทย์ของผมอาจจะไม่ยากเท่าไรนะครับเพราะถ้ายากกว่านี้
เกรงว่าผมจะเฉลยไม่ไหวครับ โจทย์มีอยู่ว่า
กำหนดให้ $\tan A$ และ $\tan B$ เป็นคำตอบของสมการ $x^2 + px + q = 0$
จงหาค่าของ $\sin^2(A+B)+p\sin(A+B)\cos(A+B)+q\cos^2(A+B)$
__________________
$$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x-b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$
BUT
$$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x+b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\frac{\pi ab}{a^{2}+b^{2}}+\frac{a^{2}-b^{2}}{a^{2}+b^{2}}\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #125  
Old 24 ตุลาคม 2006, 21:04
passer-by passer-by ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 เมษายน 2005
ข้อความ: 1,442
passer-by is on a distinguished road
Smile

สำหรับข้อ 48 ของคุณ Timestopper_STG

เพราะ $ -p= \tan A+ \tan B =\frac{\sin(A+B)}{\cos A \cos B} $
และ $ q = (\tan A)(\tan B) =\frac{\sin A \sin B}{\cos A \cos B} $

แทนค่าลงไปในสิ่งที่โจทย์ถาม จะได้
$ \sin^2(A+B) -\frac{\sin^2(A+B) \cos(A+B)}{\cos A \cos B}+\frac{\sin A \sin B}{\cos A \cos B} \cos^2(A+B) $
$= \sin^2(A+B) -\frac{\sin^2(A+B) \cos(A+B)}{\cos A \cos B}+\frac{\sin A \sin B}{\cos A \cos B}(1- \sin^2(A+B)) $
$= \sin^2(A+B)(1 -\frac{\cos(A+B)}{\cos A \cos B}-\frac{\sin A \sin B}{\cos A \cos B})+\frac{\sin A \sin B}{\cos A \cos B}=\frac{\sin A \sin B}{\cos A \cos B}= \tan A \tan B=q $

ต่อด้วยข้อ 49

สามเหลี่ยม ABC มีมุม BAC กาง 55 องศา มุม ABC กาง 115 องศา
P เป็นจุดภายในสามเหลี่ยมและอยู่บนเส้นแบ่งครึ่งมุม C โดยมุม PAC มีขนาด 25 องศา หาขนาดมุม BPC

Note: ผมไม่แน่ใจว่าข้อนี้ มีวิธีแบบเรขาคณิตหรือไม่ แต่เพื่อให้เข้ากับกระทู้นี้ ควรมีการใช้ตรีโกณมิติในคำตอบด้วยนะครับ
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #126  
Old 28 ตุลาคม 2006, 15:04
passer-by passer-by ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 เมษายน 2005
ข้อความ: 1,442
passer-by is on a distinguished road
Smile

เฉลยข้อ 49 (วาดรูปประกอบเองนะครับ)
ให้ $ \theta=P\widehat{B}C $

แน่นอนว่า $\frac{PA}{PB}\cdot \frac{PB}{PC}\cdot \frac{PC}{PA}=1 $

และจาก law of sine ทำให้เขียนสมการใหม่เป็น $$\frac{\sin(65^{\circ}+\theta)}{\sin30^{\circ}}\cdot \frac{\sin 5^{\circ}}{\sin \theta}\cdot \frac{\sin 25^{\circ}}{\sin 5^{\circ}}=1 $$

ซึ่งสมมูลกับ $ 2\sin 25^{\circ}\sin (65^{\circ}+\theta)= \sin \theta $

และสุดท้ายจะเหลือเพียง $ \cos (40^{\circ}+\theta)= 0 \Rightarrow \theta= 50 ^{\circ}$

ดังนั้นข้อนี้ตอบ 180-(50+5)= 125 องศา
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #127  
Old 24 ธันวาคม 2006, 11:19
Mastermander's Avatar
Mastermander Mastermander ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 ตุลาคม 2005
ข้อความ: 796
Mastermander is on a distinguished road
Post

50. Evaluate

$$ \tan\bigg[\arcsin(\sin^4\frac{\pi}{8} - \cos^4\frac{\pi}{8})\bigg] $$
__________________
โลกนี้มีคนอยู่ 10 ประเภท คือ คนที่เข้าใจเลขฐานสอง และคนที่ไม่เข้าใจ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #128  
Old 24 ธันวาคม 2006, 18:59
poon suankularb 130's Avatar
poon suankularb 130 poon suankularb 130 ไม่อยู่ในระบบ
เริ่มฝึกวรยุทธ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 09 มิถุนายน 2006
ข้อความ: 18
poon suankularb 130 is on a distinguished road
Post

1.ให้q(0,p) จงหาค่าของ 2sinq+2^2sin2q+2^3sin3q+...
2.กำหนด x^2+xy+y^2=9
y^2+yz+z^2=16
z^2+zx+x^2=25
find xy+yz+xz
หมายเหตุ ข้อ 2. ใช้ตรีโกน
3.Ssin^4q โดยที่ q มีค่าตั้งแต่ 1 ถ฿ง 360
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #129  
Old 24 ธันวาคม 2006, 20:36
Mastermander's Avatar
Mastermander Mastermander ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 ตุลาคม 2005
ข้อความ: 796
Mastermander is on a distinguished road
Post

อ้างอิง:
2.กำหนด $x^2+xy+y^2=9$
$y^2+yz+z^2=16$
$z^2+zx+x^2=25$
find $xy+yz+xz$
หมายเหตุ ข้อ 2. ใช้ตรีโกน
ใช้ตรงไหนครับ

คำตอบคือ $8\sqrt3$ ใช่รึเปล่า

ปล.ถ้าอยากจะเล่นในกระทู้นี้ กรุณาเปลี่ยนหมายเลขข้อให้ต่อเนื่องด้วยครับ
__________________
โลกนี้มีคนอยู่ 10 ประเภท คือ คนที่เข้าใจเลขฐานสอง และคนที่ไม่เข้าใจ

24 ธันวาคม 2006 20:50 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Mastermander
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #130  
Old 24 ธันวาคม 2006, 20:44
Timestopper_STG's Avatar
Timestopper_STG Timestopper_STG ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 22 มกราคม 2006
ข้อความ: 256
Timestopper_STG is on a distinguished road
Send a message via MSN to Timestopper_STG
Post

อ้างอิง:
ข้อความเดิมของคุณ Mastermander:
50. Evaluate

$$ \tan\bigg[\arcsin(\sin^4\frac{\pi}{8} - \cos^4\frac{\pi}{8})\bigg] $$
$\displaystyle{\sin^4\frac{\pi}{8}-\cos^4\frac{\pi}{8}=(\sin^2\frac{\pi}{8}-\cos^2\frac{\pi}{8})(\sin^2\frac{\pi}{8}+\cos^2\frac{\pi}{8})=-\cos\frac{\pi}{4}=\sin\bigg(-\frac{\pi}{4 }\bigg)}$
$\displaystyle{\therefore\tan\bigg[\arcsin(\sin^4\frac{\pi}{8} - \cos^4\frac{\pi}{8})\bigg]=-1}$
__________________
$$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x-b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$
BUT
$$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x+b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\frac{\pi ab}{a^{2}+b^{2}}+\frac{a^{2}-b^{2}}{a^{2}+b^{2}}\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #131  
Old 10 พฤษภาคม 2007, 13:22
passer-by passer-by ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 เมษายน 2005
ข้อความ: 1,442
passer-by is on a distinguished road
Smile

พักนี้เห็นกระทู้สไตล์โอลิมปิกเยอะมากเพราะใกล้เทศกาล งั้นผมขอสวนกระแส ลองคำถามกึ่งๆ ม.ปลาย ดูบ้างนะครับ

51. ให้ A เป็นจุดบนวงรี และ B, C แทนโฟกัสของวงรี พิสูจน์ว่า พื้นที่สามเหลี่ยม ABC แปรผันตาม $ \tan(\frac{A}{2})$
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #132  
Old 10 พฤษภาคม 2007, 15:11
kanakon's Avatar
kanakon kanakon ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 31 ตุลาคม 2006
ข้อความ: 523
kanakon is on a distinguished road
Default

จากกฎของ sine - cosine

พท. $ABC = {\frac{1}{2} {bc sinA}}$.............................1

และ $a^2 = b^2 + c^2 - 2bccosA$ ..............................2

แทนค่า bc ในสมการที่ 1 จะได้

พท. $ABC = {\frac{1}{4} {\frac{sinA}{cosA} } (b^2 + c^2 - a^2)}$.........3

พิจารณาสมการวงรี ที่มีจุดศูนย์กลางที่ (0,0) (เดี๋ยวยาว)

$1 = {\frac{x^2}{m^2} }+{\frac{y^2}{n^2}}$

$\because b + c = 2m$ และ $a^2 = 4(m^2 - n^2)$

จะได้ ${b^2 + c^2 - a^2} = 4{n^2} - 2bc$

นำไปแทนในสมการที่ 3 แล้วจัดรูปใหม่จะได้

พท. $ABC = {\frac{sinA}{1 + cosA} }{n^2} = tan (\frac{A}{2} ){n^2}$

เมื่อ $m,n$ เป็นค่าคงที่
__________________
ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ

$$|I-U|\rightarrow \infty $$

10 พฤษภาคม 2007 15:53 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ kanakon
เหตุผล: แก้ตามคุณ passer-by แนะนำค้าบ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #133  
Old 10 พฤษภาคม 2007, 15:34
passer-by passer-by ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 เมษายน 2005
ข้อความ: 1,442
passer-by is on a distinguished road
Default

โห! เร็วทันใจจริงๆ

ถูกแล้วล่ะครับ แต่แก้ไขตรงสมการวงรีนิดนึงก็ดีนะครับ เพราะตกกำลังสองไป
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #134  
Old 10 พฤษภาคม 2007, 15:54
kanakon's Avatar
kanakon kanakon ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 31 ตุลาคม 2006
ข้อความ: 523
kanakon is on a distinguished road
Default

ขอบคุณคุณ passer-by มากครับ
__________________
ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ

$$|I-U|\rightarrow \infty $$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #135  
Old 05 มิถุนายน 2007, 21:05
Switchgear's Avatar
Switchgear Switchgear ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 มกราคม 2006
ข้อความ: 472
Switchgear is on a distinguished road
Default

เพิ่งเปิดมาอ่านกระทู้นี้ เห็นแต่ละโจทย์แล้วน่าทึ่งครับ แต่ผมก็ยังอ่านดูไม่หมดทุกข้อ (เหนื่อยตาเหลือเกิน)
ขอร่วมสนุกโพสต์โจทย์ไว้ซักข้อ อธิฐานว่าอย่าให้ซ้ำกับข้อเก่าๆ ไม่งั้นกร่อยเลย

52. จงแยกตัวประกอบของ $z^{2n} + 2a^n z^n\cos u + a^{2n}$

คำตอบที่ต้องการเป็นหลายวงเล็บคูณกัน ไม่ใช่แทนค่าในสูตร Quadratic นะครับ ... ไม่มีติด Sqaure root !
__________________
หนึ่งปีของอัจฉริยะ อาจเทียบเท่าชั่วชีวิตของคนบางคน
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply


หัวข้อคล้ายคลึงกัน
หัวข้อ ผู้ตั้งหัวข้อ ห้อง คำตอบ ข้อความล่าสุด
Geometry marathon Char Aznable เรขาคณิต 78 26 กุมภาพันธ์ 2018 21:56
Algebra Marathon nooonuii พีชคณิต 199 20 กุมภาพันธ์ 2015 10:08
Calculus Marathon (2) nongtum Calculus and Analysis 134 03 ตุลาคม 2013 16:32
Marathon Mastermander ฟรีสไตล์ 6 02 มีนาคม 2011 23:19
Calculus Marathon nooonuii Calculus and Analysis 222 26 เมษายน 2008 03:52


กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 05:13


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha