Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #16  
Old 21 มกราคม 2020, 12:54
tngngoapm's Avatar
tngngoapm tngngoapm ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 พฤศจิกายน 2014
ข้อความ: 462
tngngoapm is on a distinguished road
Default การตรวจสอบการอยู่บนเส้นตรงเดียวกันของจุด3จุดในพิกัด3มิติ(ต่อ)

พิจารณาอีก1ตัวอย่าง
กำหนดเมตริกซ์...$A=\bmatrix{1&2&3\\2&3&4\\4&3&2}$
$$\vmatrix{1&2&3\\2&3&4\\4&3&2}=0$$
..แต่พิกัด$(1,2,3),(2,3,4)และ(4,3,2)ไม่ได้อยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน$
...แสดงคุณสมบัติดิเทอร์มิแนนท์ยังไม่เพียงพอที่จะนำมาบ่งบอกถึงการอยู่บนแนวเดียวกันของพิกัดทั้งสาม
__________________
ประสบการณ์จะให้ประโยชน์อย่างเงียบๆ เมื่อเราสำนึกถึงข้อมูลในอดีต
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #17  
Old 28 กุมภาพันธ์ 2020, 07:20
tngngoapm's Avatar
tngngoapm tngngoapm ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 พฤศจิกายน 2014
ข้อความ: 462
tngngoapm is on a distinguished road
Default การตรวจสอบการอยู่บนเส้นตรงเดียวกันของจุด3จุดในพิกัด3มิติ(สรุป)

1.เงื่อนไขอันดับแรกที่ควรต้องตรวจสอบหรือ"เงื่อนไขจำเป็น"
คือเมตริกซ์ของพิกัดทั้ง3จุดต้องมีดิเทอร์มมิแนนท์(determinant)
เท่ากับศูนย์ถ้าไม่ใช่จะสามารถบอกได้ทันทีว่า
ทั้ง3จุดนั้นไม่ได้อยู่บนเส้นตรงเดียวกัน

2.ถ้าเงื่อนไขแรกผ่านแล้วแปลว่าต้องทดสอบต่อไปคือ
เงื่อนไขที่เป็นตัวชี้ขาดว่าทั้งสามจุดนั้นอยู่เส้นตรงเดียวกันแน่ๆหรือ
"เงื่อนไขพอเพียง" ให้พิจารณาเมตริกซ์แอดจอยน์(adjoint)ของเมตริกซ์พิกัด
ถ้าผลบวกของสมาชิกในแต่ละแถวของเมตริกซ์แอดจอยน์เท่ากับศูนย์ในทุกๆแถวแล้ว
จะสามารถพิสูจน์ได้ว่าจุดทั้งสามในพิกัดสามมิติอยู่บนเส้นตรงเดียวกัน
__________________
ประสบการณ์จะให้ประโยชน์อย่างเงียบๆ เมื่อเราสำนึกถึงข้อมูลในอดีต
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #18  
Old 24 เมษายน 2020, 14:29
tngngoapm's Avatar
tngngoapm tngngoapm ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 พฤศจิกายน 2014
ข้อความ: 462
tngngoapm is on a distinguished road
Default สมการระนาบที่ผ่านจุด3จุดในพิกัดฉาก3มิติ(x,y,z)

...ถ้าเมตริกซ์$A$คือเมตริกซ์ของพิกัดของจุด3จุด$(x_1,y_1,z_1),(x_2,y_2,z_2)และ(x_3,y_3,z_3)$หรือ
$$A=\bmatrix{x_1&y_1&z_1\\x_2&y_2&z_2\\x_3&y_3&z_3}$$
และดิเทอมิแนนท์ของเมตริกซ์$A$มากกว่าศูนย์หรือ$|A|>0$แล้ว

...สมการระนาบที่ผ่าน3จุดนั้นคือ
$$|\bmatrix{x&y&z}[adj.(A)]\bmatrix{1\\1\\1}|=|A|$$
__________________
ประสบการณ์จะให้ประโยชน์อย่างเงียบๆ เมื่อเราสำนึกถึงข้อมูลในอดีต

24 เมษายน 2020 15:17 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ tngngoapm
เหตุผล: เติมอันเดอร์สกอร์และค่าสัมบูรณ์
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #19  
Old 28 เมษายน 2020, 11:05
tngngoapm's Avatar
tngngoapm tngngoapm ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 พฤศจิกายน 2014
ข้อความ: 462
tngngoapm is on a distinguished road
Default สมการระนาบผิวข้างของปิรามิดที่ผ่านจุด4จุดในพิกัดฉาก3มิติ(x,y,z)

...ถ้าเมตริกซ์$A$คือเมตริกซ์ของพิกัดของจุด4จุด$(x_1,y_1,z_1),(x_2,y_2,z_2),(x_3,y_3,z_3)และ(x_4,y_4,z_4)$หรือ
$$A=\bmatrix{x_1&y_1&z_1&1\\x_2&y_2&z_2&1\\x_3&y_3&z_3&1\\x_4&y_4&z_4&1}$$
และดิเทอมิแนนท์ของเมตริกซ์$A$มากกว่าศูนย์หรือ$|A|>0$แล้ว

...ระบบสมการระนาบผิวข้างที่ประกอบกันเป็นรูปทรงปิระมิดที่ผ่าน4จุดนั้นสามารถเขียนให้อยู่ใรรูปสมการเมทริกซ์คือ
$$[C_{ij}(A)]\bmatrix{x\\y\\z\\1}=\bmatrix{0\\0\\0\\0}$$
โดย$[C_{ij}(A)]=[adj.(A)]^t$
__________________
ประสบการณ์จะให้ประโยชน์อย่างเงียบๆ เมื่อเราสำนึกถึงข้อมูลในอดีต

28 เมษายน 2020 11:07 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ tngngoapm
เหตุผล: นำโอเล็กออก
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #20  
Old 01 พฤษภาคม 2020, 09:43
tngngoapm's Avatar
tngngoapm tngngoapm ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 พฤศจิกายน 2014
ข้อความ: 462
tngngoapm is on a distinguished road
Default การเดินทางของระนาบในพิกัด4มิติ

ในระบบพิกัด3มิติสามารถกำหนด
สมการระนาบได้ในรูปแบบเช่น...
$3x+4y-5z=6$ เป็นต้น
ซึ่งในระนาบนั้นจะประกอบด้วยจุดพิกัด $(x,y,z)$
นับไม่ถ้วนที่สอดคล้องกับสมการระนาบข้างต้น
...และถ้าจุดเหล่านั้นมีการเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา
แสดงว่าการแสดงพิกัดเหล่านั้นสามารถแสดงในรูป4มิติคือ
$(x,y,z,t)$โดยเพิ่มมิติของเวลาเข้าไปเช่น
...สมการการเคลื่อนที่ของระนาบ
$$3x+4y-5z+7t=6$$
จะแทนระนาบ $3x+4y-5z=6$ทึ่เริ่มเคลื่อนทึ่ในแนวเส้นตรงในทิศทางเวกเตอร์
$-(3i+4j-5k)$ทั้งระนาบด้วยความเร็ว $7/(3^2+4^2+5^2)^{1/2}$หรือเท่ากับ $7(2^{1/2})/10$ หน่วยต่อเวลา
__________________
ประสบการณ์จะให้ประโยชน์อย่างเงียบๆ เมื่อเราสำนึกถึงข้อมูลในอดีต

01 พฤษภาคม 2020 15:56 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ tngngoapm
เหตุผล: แก้ไขทิศของเวกเตอร์
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 23:13


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha