Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > พีชคณิต
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 08 มกราคม 2008, 18:57
konkoonJAi's Avatar
konkoonJAi konkoonJAi ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 19 มกราคม 2006
ข้อความ: 119
konkoonJAi is on a distinguished road
Default รากของสมการพหุนาม

ให้ $p(x)$ เป็นพหุนามดีกรี $n$ มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนตรรกยะ และ $a,b$ เป็นจำนวนตรรกยะ ที่ $\sqrt{b}$ เป็นจำนวนอตรรกยะ จงแสดงว่า ถ้า $a+ \sqrt{b}$ เป็นรากของ p(x) แล้ว $a- \sqrt{b}$ จะเป็นรากของ $p(x)$ ด้วย
รบกวนช่วยพิสูจน์หน่อยนะคะ คิดไม่ออกเลยค่ะ
__________________
การเรียนรู้ไม่มีวันสิ้นสุด
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 08 มกราคม 2008, 20:50
M@gpie's Avatar
M@gpie M@gpie ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 09 ตุลาคม 2003
ข้อความ: 1,227
M@gpie is on a distinguished road
Default

ลองดูวิธีผมก็แล้วกันนะครับ (มีที่ผิด)

พิสูจน์ : ให้ $p(x)$ เป็นพหุนามดีกรี $n$ ที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนตรรกยะ ที่มี $a+\sqrt{b}$ เป็นรากของสมการ จะได้ว่า $p(a+\sqrt{b})=0$
ต่อไปสมมติว่า $a-\sqrt{b}$ ไม่เป็นรากของ $p(x)$ โดยทฤษฎีบทตัวประกอบจะได้ว่ามีพหุนาม $q(x)$ ที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนตรรกยะซึ่งไม่มี $a-\sqrt{b}$ เป็นรากและสามารถเขียน $p(x)$ ได้ในรูป
\[ p(x)=(x-(a+\sqrt{b}))q(x)\]
ถ้าเราคูณกระจายออกมาจะพบว่า $p(x)$ มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนอตรรกยะ ซึ่งขัดแย้ง แสดงว่า $p(x)$ ต้องมี $a-\sqrt{b}$ เป็นราก รากหนึ่ง
__________________
PaTa PatA pAtA Pon!

09 มกราคม 2008 10:13 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 3 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ M@gpie
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 09 มกราคม 2008, 02:43
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ M@gpie View Post
ลองดูวิธีผมก็แล้วกันนะครับ

โดยทฤษฎีบทตัวประกอบจะได้ว่ามีพหุนาม $q(x)$ ที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนตรรกยะ
ถ้าจะใช้ทฤษฎีบทตัวประกอบ รากจะต้องเป็นจำนวนตรรกยะนะครับ
ในกรณีนี้รากเป็นจำนวนอตรรกยะเราจึงสรุปได้แค่ว่า $Q(x)$ มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนจริงครับ

__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 09 มกราคม 2008, 10:11
M@gpie's Avatar
M@gpie M@gpie ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 09 ตุลาคม 2003
ข้อความ: 1,227
M@gpie is on a distinguished road
Default

โอ้ วิธีผมมีที่สรุปผิด ขอบคุณพี่ Noonuii ที่ชี้แนะครับ
__________________
PaTa PatA pAtA Pon!
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 09 มกราคม 2008, 12:37
konkoonJAi's Avatar
konkoonJAi konkoonJAi ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 19 มกราคม 2006
ข้อความ: 119
konkoonJAi is on a distinguished road
Default

เป็นเทคนิคการพิสูจน์ที่ยอดเยี่ยมมากค่ะ แบบนี้คงเป็นการยากที่ข้าพเจ้าจะคิดเองได้
ขอบคุณมากนะคะ
__________________
การเรียนรู้ไม่มีวันสิ้นสุด
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 09 มกราคม 2008, 12:54
konkoonJAi's Avatar
konkoonJAi konkoonJAi ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 19 มกราคม 2006
ข้อความ: 119
konkoonJAi is on a distinguished road
Default

ถ้าไม่เป้นการรบกวนมากขออีกซักข้อนะคะ
ถ้า $n$ เป็นจำนวนคี่ ที่ 3 หาร $n$ ไม่ลงตัว แล้ว $x^2+x+1 (x+1) | ^n-x^n-1$
__________________
การเรียนรู้ไม่มีวันสิ้นสุด
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 09 มกราคม 2008, 19:25
gon's Avatar
gon gon ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎขั้นสูง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 มีนาคม 2001
ข้อความ: 4,608
gon is on a distinguished road
Smile

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ konkoonJAi View Post
ถ้าไม่เป้นการรบกวนมากขออีกซักข้อนะคะ
ถ้า $n$ เป็นจำนวนคี่ ที่ 3 หาร $n$ ไม่ลงตัว แล้ว $x^2+x+1 (x+1) | ^n-x^n-1$
ลองดูในกระทู้ที่ผมเคยตอบคุณ kanji ไปแล้วนะครับ.

Theory of Equations
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 00:45


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha