Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > ทฤษฎีจำนวน
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 28 ตุลาคม 2015, 01:34
Onniers Onniers ไม่อยู่ในระบบ
สมาชิกใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 28 ตุลาคม 2015
ข้อความ: 5
Onniers is on a distinguished road
Default ช่วย proof phi function หน่อยค่ะ

1.พิสูจน์ว่า ø(n^2)=nø(n)
2.พิสูจน์ว่า ø(mn)ø(d)=d ø(m)ø(n) เมื่อ (m,n)=d
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 28 ตุลาคม 2015, 03:22
Kodaku Kodaku ไม่อยู่ในระบบ
เริ่มฝึกวรยุทธ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 19 ตุลาคม 2015
ข้อความ: 13
Kodaku is on a distinguished road
Default

1. $d$ เป็นจำนวนเฉพาะสัมพัทธ์กับ $n$ ก็ต่อเมื่อ $n+da$ เป็นจำนวนเฉพาะสัมพัทธ์กับ $n$
$k$ เป็นจำนวนเฉพาะสัมพัทธ์กับ $n$ ก็ต่อเมื่อ $k$ เป็นจำนวนเฉพาะสัมพัทธ์กับ $n^2$
ตัวอย่าง 1 2 3 4 5 6 $\phi (6)=2$
1,2,3,4,5,6
7,8,9,10,11,12
13,14,15,16,17,18
19,20,21,22,23,24
25,26,27,28,29,30
31,32,33,34,35,36
$\therefore \phi (6^2)=6\phi (6)$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 28 ตุลาคม 2015, 10:17
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

1. ถ้า $n=p_1^{a_1}p_2^{a_2}\cdots p_k^{a_k}$ แล้ว $n^2= ?$

เอาไปเข้าสูตร $\phi(n)=n(1-\frac{1}{p_1})\cdots (1-\frac{1}{p_k})$ ก็ได้แล้ว
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 28 ตุลาคม 2015, 11:09
Onniers Onniers ไม่อยู่ในระบบ
สมาชิกใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 28 ตุลาคม 2015
ข้อความ: 5
Onniers is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ nooonuii View Post
1. ถ้า $n=p_1^{a_1}p_2^{a_2}\cdots p_k^{a_k}$ แล้ว $n^2= ?$

เอาไปเข้าสูตร $\phi(n)=n(1-\frac{1}{p_1})\cdots (1-\frac{1}{p_k})$ ก็ได้แล้ว
ถ้า proof โดยไม่เข้าสูตร จะมีวิธี proof แบบอื่นไหมคะ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 28 ตุลาคม 2015, 20:07
กขฃคฅฆง's Avatar
กขฃคฅฆง กขฃคฅฆง ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 21 เมษายน 2015
ข้อความ: 419
กขฃคฅฆง is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Onniers View Post
ถ้า proof โดยไม่เข้าสูตร จะมีวิธี proof แบบอื่นไหมคะ
ก็อย่างที่คุณ Kodaku บอกแหละครับ

สมมติ จำนวนเฉพาะสัมพัทธ์ของ $n$ คือ $a_1,a_2,...,a_{\phi (n)}$

จะได้ว่า จำนวนเฉพาะสัมพัทธ์ของ $n^2$ คือ

$a_1+kn,a_2+kn,...,a_{\phi (n)}+kn$ ; $k=0,1,2,...,n-1$

ซึ่งมี $n\phi (n)$ ตัว
__________________
เหนือฟ้ายังมีอวกาศ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 31 ตุลาคม 2015, 16:02
Pitchayut Pitchayut ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 20 มกราคม 2015
ข้อความ: 352
Pitchayut is on a distinguished road
Default

ข้อ 2 ลอง generalize ข้อ 1 จะพบว่า $\phi(mn)=m\phi(n)$ เมื่อ $m, n\in\mathbb{N}$ ที่สอดคล้องกับ ถ้า $p$ เป็นจำนวนเฉพาะที่ $p\mid n$ แล้ว $p\mid m$

ให้ $m=da, n=db$ แทนลงไปแล้วใช้ความจริงที่ว่า $(a,b)=1$ ครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply


หัวข้อคล้ายคลึงกัน
หัวข้อ ผู้ตั้งหัวข้อ ห้อง คำตอบ ข้อความล่าสุด
CDF Function และ Error Function Anupon ปัญหาคณิตศาสตร์ทั่วไป 6 17 สิงหาคม 2014 16:30
Proof ยังไงครับ ไร้ซึ่งวรยุทธ คณิตศาสตร์อุดมศึกษา 4 11 พฤศจิกายน 2012 09:09
Arithmetic Function ..Proof ให้หน่อยนะ Math.NU ทฤษฎีจำนวน 5 31 มกราคม 2010 01:19
ช่วยดู Proof เรื่องกรุป ให้ผมด้วยครับ ครูนะ ปัญหาคณิตศาสตร์ทั่วไป 5 14 ตุลาคม 2009 05:39
Convex function Proof M@gpie ปัญหาคณิตศาสตร์ทั่วไป 2 02 กรกฎาคม 2006 16:28


กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 21:09


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha