Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > พีชคณิต
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #76  
Old 25 พฤษภาคม 2006, 19:08
Mastermander's Avatar
Mastermander Mastermander ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 ตุลาคม 2005
ข้อความ: 796
Mastermander is on a distinguished road
Post

คุณ suthee เครื่องหมายไม่ถูกนะครับ
__________________
โลกนี้มีคนอยู่ 10 ประเภท คือ คนที่เข้าใจเลขฐานสอง และคนที่ไม่เข้าใจ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #77  
Old 26 พฤษภาคม 2006, 01:07
nithi_rung nithi_rung ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 05 มีนาคม 2002
ข้อความ: 34
nithi_rung is on a distinguished road
Post

อ้างอิง:
ข้อความเดิมของคุณ warut:
รู้แล้วๆ ใช้ $$\cos2x = \frac{\cot^2x-1} {\cot^2x+1} $$ ใช่ไหมครับ...
ก็ไม่แน่นะครับ วิธีแทนค่าอย่างที่พี่ warut ว่า อาจจะใช้ได้เหมือนกัน ก็ดีแล้วครับที่ได้ลองทำดู
ผมทำอย่างนี้ครับ ลองดูแนวคิดตอนแรกก่อนนะครับ (รีบมาพิมพ์ก่อนที่จะไม่ว่างอีกในสองสามวันนี้อย่างที่ว่าไว้)

ถ้ายังทำต่อไปไม่ได้ก็ นี่เลยครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #78  
Old 26 พฤษภาคม 2006, 01:50
warut warut ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 พฤศจิกายน 2001
ข้อความ: 1,627
warut is on a distinguished road
Icon23

พุทโธ่ พุทถัง เราทำอะไรไปเนี่ย เห็นเฉลยแล้วจึงรู้ว่าตัวเอง ... กว่าที่คิดไว้เสียอีก
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #79  
Old 26 พฤษภาคม 2006, 23:52
nongtum's Avatar
nongtum nongtum ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 เมษายน 2005
ข้อความ: 3,246
nongtum is on a distinguished road
Post

ในเมื่อไม่ใครตั้งโจทย์ งั้นผมตั้งละกัน

32. จงแก้สมการ $\cos^nx-\sin^nx=1$ เมื่อ $n$ เป็นจำนวนนับ
__________________
คนไทยร่วมใจอย่าใช้ภาษาวิบัติ
ฝึกพิมพ์สัญลักษณ์สักนิด ชีวิต(คนตอบและคนถาม)จะง่ายขึ้นเยอะ (จริงๆนะ)

Stay Hungry. Stay Foolish.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #80  
Old 27 พฤษภาคม 2006, 11:55
Pheeradej Pheeradej ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 02 กุมภาพันธ์ 2006
ข้อความ: 47
Pheeradej is on a distinguished road
Icon16

ข้อ 32 คับ
ถ้า n เป็นคู่ จะได้ว่า
cosnx = 1+sinnx 1
\ cosx = 1
x = 2mp $mI
ถ้า n เป็นคี่
เห็นได้ชัดว่า ที่ค่า cos เป็นลบนั้นเป็นไปไม่ได้ และถ้าเป็นบวกทั้งคู่ก็สามารถพิสูจน์ในทำนองเดียวกับข้างต้นได้
ที่ค่า sin เป็นลบ
ให้ x = -y ,$yR+ จะได้สมการใหม่เป็น
cosny+sinny = 1
ที่ n3 โดย การใช้อนุพันธ์ จะได้ว่าค่าสูงสุดของ cosny+sinny =1
โดยค่าสูงสุดจะเกิดขึ้นเมื่อ cosy = 1 หรือ siny = 1
นั่นคือ cosx=1 หรือ sinx = -1
จะได้ x = 2mp,$\frac{3}{2}$p+2mp
ที่ n = 1 แก้จากสมการ 2 สมการนี้
cosy+siny=1 ,cos2y+sin2y = 1
จะได้ cosy = 0 หรือ siny = 0 (และsiny=1 หรือ cosy=1)
จะได้ x = 2mp,$\frac{3}{2}$p+2mp
ดังนั้น คำตอบของสมการคือ
x = 2mp,$\frac{3}{2}$p+2mp $mI เมื่อ n เป็นคี่
x = 2mp $mI เมื่อ n เป็นคู่
ผมเอาคำถามจาก solution นี้เลยนะครับ
33.จงแสดงว่า $cos^nx+sin^nx$ 1
ทุกnเป็นจำนวนนับที่3 โดยไม่ใช้อนุพันธ์
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #81  
Old 28 พฤษภาคม 2006, 16:17
zead zead ไม่อยู่ในระบบ
เริ่มฝึกวรยุทธ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 ธันวาคม 2005
ข้อความ: 25
zead is on a distinguished road
Post

ข้อ33$$ เพราะว่า -1\le \cos x \le 1จะได้ \cos^{n}x \le \cos^{2}x \ เมื่อ\ n \ge 3 $$
$$ ในทำนองเดียวกันจะได้ \sin^{n}x \le \sin^{2}x \ เมื่อ \ n\ge 3$$
$$ ดังนั้น \cos^{n}x +\sin^{n}x \le \cos^{2}x +\sin^{2}x=1 $$

ข้อ34 พิสูจน์ว่าสำหรับ x เป็นจำนวนจริงใดๆ cos(sinx) > sin(cosx)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #82  
Old 28 พฤษภาคม 2006, 17:03
passer-by passer-by ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 เมษายน 2005
ข้อความ: 1,442
passer-by is on a distinguished road
Post

ข้อ 34

$ \cos(\sin x)-\sin(\cos x)=\cos(\sin x)-\cos(\frac{\pi}{2}-\cos x)= -2\sin\frac{\frac{\pi}{2}-\cos x+\sin x}{2}\sin\frac{\cos x+\sin x-\frac{\pi}{2}}{2} = -2\sin X \sin Y $

เนื่องจาก $ \mid \cos x \pm \sin x \mid \leq \sqrt{2} $ ดังนั้น $ X,Y $ อยู่ใน quadrant ที่ 1 ,4 ตามลำดับ และทำให้ $ \cos(\sin x)-\sin(\cos x) > 0 $
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว

29 พฤษภาคม 2006 03:01 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ passer-by
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #83  
Old 29 พฤษภาคม 2006, 03:03
passer-by passer-by ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 เมษายน 2005
ข้อความ: 1,442
passer-by is on a distinguished road
Post

ต่อด้วย ข้อ 35 (Classical problem)

Evaluate $$ \tan^2 1^{\circ}+\tan^2 3^{\circ}+\tan^2 5^{\circ}+ \cdots +\tan^2 89^{\circ}$$

__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว

31 พฤษภาคม 2006 03:14 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ passer-by
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #84  
Old 01 มิถุนายน 2006, 18:14
zead zead ไม่อยู่ในระบบ
เริ่มฝึกวรยุทธ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 ธันวาคม 2005
ข้อความ: 25
zead is on a distinguished road
Post

ข้อ35 (ข้อนี้ตั้งนานแหนะครับ เพิ่งเจอโจทย์แบบนี้ครั้งแรก)
ให้ A= ${ \tan^2 1^{\circ}+\tan^2 3^{\circ}+\tan^2 5^{\circ}+ \cdots +\tan^2 89^{\circ}}$
ดังนั้น $$2A={ \tan^2 1^{\circ}+\tan^2 3^{\circ}+\cdots+\tan^2 89^{\circ}+\tan^2 91^{\circ}+ \cdots +\tan^2 179^{\circ}}$$ จัดรูปไปเรื่อยๆโดยใช้ $ \tan^2 \theta = \sec^2 \theta -1$
จะได้ 2A=$(\frac{ผลบวกของ ผลคูณ\cos ทีละ 89 ตัว}{ผลคูณของ \cos ทั้งหมด 90 ตัว})^2 - 2(\frac{ผลบวกของผลคูณ \cos ทีละ 88 ตัว}{ผลคูณของ \cos ทั้งหมด 90 ตัว})-90$
(มุมของ cos นั้น คือ1,3,...,179องศา)
จากทฤษฎีบทเดอร์มัวร์ และเทียบส่วนจริงจะได้
$ \cos 90\theta ={90 \choose 0}(\cos \theta)^{90}-{90 \choose 2}(\cos \theta)^{88}(\sin \theta)^2+\cdots$
ให้ $x =\cos \theta เมื่อ \theta = 1^{\circ},3^{\circ},\cdots,179^{\circ}$
จะสมการด้านบนทำให้เราทราบว่า x เป็นคำตอบของ
$0={90 \choose 0}(x)^{90}-{90 \choose 2}(x)^{88}(1-x^2)+\cdots$
ซึ่งเราก็สามารถหา A ได้จากผลบวกราก-ผลคูณราก
ถ้าคิดเลขไม่ผิดรู้สึกว่าคำตอบคือ 4005 นะครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #85  
Old 01 มิถุนายน 2006, 23:05
passer-by passer-by ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 เมษายน 2005
ข้อความ: 1,442
passer-by is on a distinguished road
Thumbs up

คำตอบ ถูกแล้วครับ

แต่ผม Simplify ให้อีกนิดนึงแล้วกัน

จาก $ \cos 90\theta=0 $ เมื่อ $ \theta= 1^{\circ} ,3^{\circ},\cdots 89^{\circ} $

จากกฎของเดอมัวร์และการเทียบส่วนจริง พบว่า

$$ 0= \cos 90\theta = \sum_{k=0}^{45} {90 \choose 2k}(\cos \theta)^{90-2k}(\sin\theta)^{2k} (-1)^k $$
ถ้าหารด้วย $(\cos\theta)^{90}$ ตลอดสมการ พบว่า
$$0= \sum_{k=0}^{45} {90 \choose 2k}(\tan^2\theta)^{k} (-1)^k $$

กลายเป็นพหุนามดีกรี 45 ที่มี $ \tan^2 1^{\circ} , \tan^2 3^{\circ},\cdots \tan^2 89^{\circ} $ เป็นคำตอบสมการ

ดังนั้นผลรวมของราก ก็คงไม่ใช่เรื่องยากแล้วใช่ไหมครับ ซึ่งก็คือ ${90 \choose 88} (-1)^{44}=4005 $
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #86  
Old 03 มิถุนายน 2006, 21:32
nithi_rung nithi_rung ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 05 มีนาคม 2002
ข้อความ: 34
nithi_rung is on a distinguished road
Post

ถ้าไม่มีใครลงโจทย์ต่อ ขอผมลงข้อต่อไปเลยนะครับ

36. ให้ $a\in [-1,1]$ สอดคล้องกับสมการ
$$3\arcsin (3a-4a^3) - \arcsin a = \frac{37 \pi}{21}$$
จงหาค่าของ $ \arcsin a $
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #87  
Old 03 มิถุนายน 2006, 21:52
Mastermander's Avatar
Mastermander Mastermander ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 ตุลาคม 2005
ข้อความ: 796
Mastermander is on a distinguished road
Post

Let $\arcsin a=\theta$
$$3\arcsin(\sin3\theta)-\theta=\frac{37\pi}{21}$$
$$9\theta-\theta=\frac{37\pi}{21}$$
$$\theta=\frac{37\pi}{168}$$


37.
__________________
โลกนี้มีคนอยู่ 10 ประเภท คือ คนที่เข้าใจเลขฐานสอง และคนที่ไม่เข้าใจ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #88  
Old 04 มิถุนายน 2006, 02:54
nithi_rung nithi_rung ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 05 มีนาคม 2002
ข้อความ: 34
nithi_rung is on a distinguished road
Icon19

อ้างอิง:
ข้อความเดิมของคุณ Mastermander:
Let $\arcsin a=\theta$
$$3\arcsin(\sin3\theta)-\theta=\frac{37\pi}{21}$$
$$9\theta-\theta=\frac{37\pi}{21}$$
$$\theta=\frac{37\pi}{168}$$
ในที่สุดก็มีคนหลงกลข้อนี้ Das freut mich!
มันไม่ง่ายอย่างนั้นนี่สิครับ
ไม่เชื่อลองแทนค่ากลับไปดู
แล้วลองดูครับว่า ทำไมคำตอบนี้ใช้ไม่ได้
ข้อนี้มีคำตอบ 1 คำตอบครับ แต่ไม่ใช่ $\frac{37\pi}{168}$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #89  
Old 05 มิถุนายน 2006, 20:53
Mastermander's Avatar
Mastermander Mastermander ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 ตุลาคม 2005
ข้อความ: 796
Mastermander is on a distinguished road
Post

รบกวนเฉลยหน่อยครับ
__________________
โลกนี้มีคนอยู่ 10 ประเภท คือ คนที่เข้าใจเลขฐานสอง และคนที่ไม่เข้าใจ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #90  
Old 05 มิถุนายน 2006, 22:43
nithi_rung nithi_rung ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 05 มีนาคม 2002
ข้อความ: 34
nithi_rung is on a distinguished road
Post

อ้างอิง:
ข้อความเดิมของคุณ Mastermander:
รบกวนเฉลยหน่อยครับ
ที่จริงถ้าน้องลองทำใหม่ได้เองน่าจะดีกว่าไหมครับ เพราะที่จริงที่ทำมาก็เกือบถูกแล้ว
ติดอยู่ที่ตรงนี่ครับ ---> จำเป็นหรือไม่ที่ $ \arcsin (\sin 3\theta) = 3\theta $ เสมอ
ถ้าไม่จำเป็น แล้วจะเกิดอะไรขึ้นบ้าง
อาจจะต้องแจงกรณีดูนะครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply


หัวข้อคล้ายคลึงกัน
หัวข้อ ผู้ตั้งหัวข้อ ห้อง คำตอบ ข้อความล่าสุด
Geometry marathon Char Aznable เรขาคณิต 78 26 กุมภาพันธ์ 2018 21:56
Algebra Marathon nooonuii พีชคณิต 199 20 กุมภาพันธ์ 2015 10:08
Calculus Marathon (2) nongtum Calculus and Analysis 134 03 ตุลาคม 2013 16:32
Marathon Mastermander ฟรีสไตล์ 6 02 มีนาคม 2011 23:19
Calculus Marathon nooonuii Calculus and Analysis 222 26 เมษายน 2008 03:52


กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 04:54


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha