Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > Calculus and Analysis
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 20 พฤศจิกายน 2007, 21:28
กิจ's Avatar
กิจ กิจ ไม่อยู่ในระบบ
สมาชิกใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 26 มิถุนายน 2005
ข้อความ: 3
กิจ is on a distinguished road
Default calculus ช่วยคิดเล่นๆ

f(n)=$\sum_{n = 1}^{\infty} (n+1)^9-\sum_{n = 1}^{\infty} n^9
$จงหา $\sqrt{f'(-3)} $
__________________
ตั้งใจทำสิ่งที่หวัง
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 20 พฤศจิกายน 2007, 22:20
M@gpie's Avatar
M@gpie M@gpie ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 09 ตุลาคม 2003
ข้อความ: 1,227
M@gpie is on a distinguished road
Default

ผมว่าโจทย์มันแหม่งๆ นะครับเนี่ย f ขึ้นกับ n แต่ฝั่งขวามันรวม n ไปหายหมด แปลได้ว่า $f'(n)=0$ ???
__________________
PaTa PatA pAtA Pon!
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 20 พฤศจิกายน 2007, 22:30
หยินหยาง's Avatar
หยินหยาง หยินหยาง ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่จักรวาล
 
วันที่สมัครสมาชิก: 06 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,921
หยินหยาง is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ กิจ View Post
f(n)=$\sum_{n = 1}^{\infty} (n+1)^9-\sum_{n = 1}^{\infty} n^9
$จงหา $\sqrt{f'(-3)} $
งั้นขอตอบเล่นๆ ดูนะครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 20 พฤศจิกายน 2007, 23:00
Timestopper_STG's Avatar
Timestopper_STG Timestopper_STG ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 22 มกราคม 2006
ข้อความ: 256
Timestopper_STG is on a distinguished road
Send a message via MSN to Timestopper_STG
Default

f(n)=1?????
__________________
$$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x-b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$
BUT
$$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x+b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\frac{\pi ab}{a^{2}+b^{2}}+\frac{a^{2}-b^{2}}{a^{2}+b^{2}}\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 21 พฤศจิกายน 2007, 06:30
กิจ's Avatar
กิจ กิจ ไม่อยู่ในระบบ
สมาชิกใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 26 มิถุนายน 2005
ข้อความ: 3
กิจ is on a distinguished road
Default

ขออภัยครับ ผิดจริงๆด้วย
$f(n)=\Sigma _{k=1}^{n}{(k+1)^9}-\Sigma _{k=1}^{n}{k^9}$
ให้หา $\sqrt{f'(-3)}$
__________________
ตั้งใจทำสิ่งที่หวัง
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 21 พฤศจิกายน 2007, 06:41
กิจ's Avatar
กิจ กิจ ไม่อยู่ในระบบ
สมาชิกใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 26 มิถุนายน 2005
ข้อความ: 3
กิจ is on a distinguished road
Default

ฝากอีกข้อนะครับ
ให้$f(n)=\lim_{n \to \infty}\Sigma _{k=1}^{n}\frac{k}{(n+1)^k} $
หา $f'(1)$

(ท่านจอมยุทย์โปรดชี้แนะด้วย)
__________________
ตั้งใจทำสิ่งที่หวัง
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 21 พฤศจิกายน 2007, 09:16
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

ช่วยนิยาม $f'$ ให้ดูหน่อยครับ ว่าหมายถึงอะไร
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 21 พฤศจิกายน 2007, 10:39
gon's Avatar
gon gon ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎขั้นสูง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 มีนาคม 2001
ข้อความ: 4,608
gon is on a distinguished road
Wink

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ กิจ View Post
ฝากอีกข้อนะครับ
ให้$f(n)=\lim_{n \to \infty}\Sigma _{k=1}^{n}\frac{k}{(n+1)^k} $
หา $f'(1)$

(ท่านจอมยุทย์โปรดชี้แนะด้วย)
ขออนุญาตคั่นด้วยโฆษณาก่อนเข้าถึงฉากสำคัญ

คำถามและเฉลยข้อนี้มีอยู่ในนิตยสาร MY MATHS ฉบับล่าสุด เดือนนี้ครับ
(จดหมายจากผู้อ่าน) หาซื้อได้ที่ร้านหนังสือดอกหญ้าและซีเอ็ด และื่อื่น ๆ

Hint :
$(\frac{1}{n+1} + \frac{1}{(n+1)^2} +\frac{1}{(n+1)^3 + ... } )+$
$(\frac{1}{(n+1)^2} + \frac{1}{(n+1)^3} +\frac{1}{(n+1)^4 + ... } )+$
$(\frac{1}{(n+1)^3} + \frac{1}{(n+1)^4} +\frac{1}{(n+1)^5 + ... } )+...$

จากนั้นพิจารณาผลบวกของอนุกรมเรขาคณิตอนันต์
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #9  
Old 21 พฤศจิกายน 2007, 20:58
Mr.Com Mr.Com ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 20 พฤศจิกายน 2007
ข้อความ: 58
Mr.Com is on a distinguished road
Default

นั่นสินะ ถ้าดูตามความหมายของอนุพันธ์แล้ว ไม่น่าจะหาคำตอบได้สักข้อ
เพราะฟังก์ชันที่กำหนดให้ไม่ต่อเนื่องเลย
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #10  
Old 21 พฤศจิกายน 2007, 22:27
gon's Avatar
gon gon ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎขั้นสูง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 มีนาคม 2001
ข้อความ: 4,608
gon is on a distinguished road
Smile

ลืมบอกไป ในหนังสือที่ว่า มีแต่เฉพาะส่วนของลิมิตนะครับ ส่วนอนุพันธ์จะหาได้หรือไม่ ตรงนี้ผมก็ไม่รู้เหมือนกัน ตอนนี้ไม่แม่นนิยาม
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #11  
Old 22 พฤศจิกายน 2007, 21:07
ktzzr ktzzr ไม่อยู่ในระบบ
สมาชิกใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 21 พฤศจิกายน 2007
ข้อความ: 2
ktzzr is on a distinguished road
Default

ผมขอฝากด้วยครับ(คิดไม่ออกเลย)
1.ให้ $f(x)=x^3+kx^2+cx+7$
ถ้าหารด้วย $x^2-3x+2$ เหลือเศษ 5x-3 จงหา $\lim_{h \to \infty} \frac{f(2-h)-f(2)}{h} $

2.จงหาค่าของ $\binom{n}{1}+2\binom{n}{2}+3\binom{n}{3}+.......+n\binom{n}{n}$

3.ให้ $z=x+yi$ โดยที่ $(z+i)(\bar z-i)=1$ จงหาค่ามากที่สุดของ$\left|\, z \right| $
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #12  
Old 30 พฤศจิกายน 2007, 10:25
M@gpie's Avatar
M@gpie M@gpie ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 09 ตุลาคม 2003
ข้อความ: 1,227
M@gpie is on a distinguished road
Default

ใบ้ให้นะครับ
ข้อ 1. โดยขั้นตอนวิธีการหารจะได้ว่า $f(x) = (x^2-3x+2)q(x) + 5x-3$ และ $\lim_{h \rightarrow 0} \frac{f(2-h)-f(2)}{h} = -f'(2)$


ข้อ 2. ใช้ทฤษฎีบททวินามกระจาย $(1+x)^n$ และหาอนุพันธ์ 1 ครั้ง

ข้อ 3. สังเกตว่า $(z+i)(\overline{z}-i) = |z-i| = 1$
แทน $z=x+yi$ จะได้ว่ามันคือสมการวงกลม รัศมี 1 หน่วยที่มีศูนย์กลางที่ $(0,1)$ลองคิดต่อจะได้ $|z|$ ที่มากที่สุดคือ $\sqrt{2}$
__________________
PaTa PatA pAtA Pon!
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #13  
Old 30 พฤศจิกายน 2007, 17:44
หยินหยาง's Avatar
หยินหยาง หยินหยาง ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่จักรวาล
 
วันที่สมัครสมาชิก: 06 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,921
หยินหยาง is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ M@gpie View Post
ใบ้ให้นะครับ
ข้อ 1. โดยขั้นตอนวิธีการหารจะได้ว่า $f(x) = (x^2-3x+2)q(x) + 5x-3$ และ$\lim_{h \rightarrow 0}$ $\frac{f(2-h)-f(2)}{h} = -f'(2)$
โจทย์เป็นอย่างนี้ไม่ใช่หรือครับ $\lim_{h \rightarrow \infty }$ $\frac{f(2-h)-f(2)}{h} $ แต่ผมก็เห็นด้วยว่าโจทย์น่าจะเป็นแบบเดียวกันกับคุณ M@gpie

ส่วนข้อ 2 ให้อีกวิธีเผื่อไว้พิจารณา
ต้องรู้ว่า $k\binom{n}{k} =n\binom{n-1}{k-1}$
ดังนั้น
$\binom{n}{1}+2\binom{n}{2}+3\binom{n}{3}+.......+n\binom{n}{n}$
$=n\binom{n-1}{0}+n\binom{n-1}{1}+n\binom{n-1}{2}+.......+n\binom{n-1}{n-1}$
$=n[\binom{n-1}{0}+\binom{n-1}{1}+\binom{n-1}{2}+.......+\binom{n-1}{n-1}]$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply


หัวข้อคล้ายคลึงกัน
หัวข้อ ผู้ตั้งหัวข้อ ห้อง คำตอบ ข้อความล่าสุด
~ รบกวนถามโจทย์คณิตศาสตร์หน่อยครับ Calculus I ~ Montimedia™© Calculus and Analysis 9 09 สิงหาคม 2007 22:18
calculus ในฟิสิกส์ kanakon Calculus and Analysis 2 12 พฤษภาคม 2007 19:19
โจทย์เกี่ยวกับ calculus warut ปัญหาคณิตศาสตร์ทั่วไป 9 07 มกราคม 2002 19:02
calculus nonghab ปัญหาคณิตศาสตร์ทั่วไป 4 22 ธันวาคม 2001 22:27
ถามเรื่อง Calculus หน่อยครับ Hell Calculus and Analysis 7 02 ตุลาคม 2001 22:59


กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 01:27


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha