Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม. ต้น
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 03 มีนาคม 2009, 12:24
Platootod Platootod ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 27 มกราคม 2009
ข้อความ: 643
Platootod is on a distinguished road
Default ช่วยอธิบายหน่อยคับ

นี่เป็นครั้งรองสุดท้ายที่ผมจะเข้ามาโพสต์คำถามในเว็บนี้นะคับ
1.จงหา m n เมื่อ m n เป็นจำนวนจริงบวก
เมื่อ\(mn+2m^2n-2mn^2-4m^2n^2=91\)
2.จงหาค่าของ
(1/1+1/3+1/9+1/27+1/81+..........infinity)
3.$\phi$
คือเห็นในคอนกรูเอนซ์
ทบ.ออยเลอร์
ให้ $a\in Z , n\in N$ โดยที่ $(a,n)=1$ จะได้ว่า $$a^{\phi (n)}\equiv 1 (mod n) $$
และ $\phi (n)$ คือ จำนวนของจำนวนเต็มบวก $k$ ซึ่ง $k\leqslant n$ และ $(k,n)=1$
เช่น $\phi (p)=p-1 ,p\in prime$ หรือ $\phi (36)=12$ ซึ่งสามารถพิสูจน์ได้ว่า
$$\phi (n)=n(1-1/p_1)(1-1/p_2)...(1-1/p_k)$$ เมื่อ $n=p_1^{a_1}\cdot p_2^{a_2}\cdot ...\cdot p_k^{a_k}$ เป็นการเขียนรูปแบบบัญญัติ
$\phi$
อันนี้คืออะไรคับ
__________________
ปีหน้าฟ้าใหม่ จัดกันได้ที่ค่ายฟิสิกส์

03 มีนาคม 2009 20:41 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 3 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Platootod
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 03 มีนาคม 2009, 12:53
nongtum's Avatar
nongtum nongtum ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 เมษายน 2005
ข้อความ: 3,246
nongtum is on a distinguished road
Default

ตอนนี้ผมเข้ากูเกิลไม่ได้ เลยลิงค์ให้ไม่้ได้ ตอบคร่าวๆละกันนะ

1. จำนวนจริงบวกหรือครับ น่าจะเป็นจำนวนเต็มบวกมากกว่านะ ไม่งั้นคำตอบจะมีไม่จำกัดครับ
2. มันคือผลรวมอนุกรมเรขาคณิตครับ อาจใช้สูตร $S=\frac{a_1}{1-r}$ หรือแสดงวิธีทำเป็นสมการทีละบรรทัดก็ได้
3. ถ้าคำตอบที่ได้จาก cardan ไม่ใช่จำนวนที่ถอดรากได้ง่ายๆ ก็ติดมันไว้แบบนั้น หรือใช้เครื่องคิดเลขหรือคอมช่วยเถอะครับ
4. มันคือ Euler Phi Function ครับ ลองกูเกิลหรือไปเปิดหนังสือทฤษฎีจำนวนดูนะครับ

ปล. เล่นเวบบอร์ดโปรดใจเย็นๆครับ ไม่มีอะไรที่จะได้อย่างใจตัวเองไปทั้งหมดหรอกน่า
__________________
คนไทยร่วมใจอย่าใช้ภาษาวิบัติ
ฝึกพิมพ์สัญลักษณ์สักนิด ชีวิต(คนตอบและคนถาม)จะง่ายขึ้นเยอะ (จริงๆนะ)

Stay Hungry. Stay Foolish.

03 มีนาคม 2009 12:53 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ nongtum
เหตุผล: พิมพ์ผิด และ พิมพ์เพิ่ม
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 03 มีนาคม 2009, 15:21
Platootod Platootod ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 27 มกราคม 2009
ข้อความ: 643
Platootod is on a distinguished road
Default

ผมไม่มีหนังสือสอวนอยู่กับตัวคับช่วยอธิบายข้อ 4 ข้อเดียวก็พอแล้วคับ
__________________
ปีหน้าฟ้าใหม่ จัดกันได้ที่ค่ายฟิสิกส์
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 03 มีนาคม 2009, 16:18
nongtum's Avatar
nongtum nongtum ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 เมษายน 2005
ข้อความ: 3,246
nongtum is on a distinguished road
Default

งั้นยกตัวอย่างให้ดูละกัน
เมื่อ $p$ เป็นจำนวนเฉพาะ $\phi (p)=p-1$ เพราะ จำนวนเต็มบวกทุกตัวที่น้อยกว่า $p$ ได้แก่ 1,2,...,$p-1$ เป็นจำนวนเฉพาะสัมพัทธ์กับ $p$
จากกฏการนับ และจาก $\phi$ เป็นฟังก์ชันการคูณ ก็จะได้ $\phi (pู^k)=p^k-p^{k-1}=p^k(1-\frac1{p})$ และก็สูตรที่ยกมาด้านบนนั่นเองครับ
ตัวอย่างการคำนวณ เช่น $36=2^2\times3^2$ ดังนั้น $\phi(36)=36(1-\frac12)(1-\frac13)=12$
__________________
คนไทยร่วมใจอย่าใช้ภาษาวิบัติ
ฝึกพิมพ์สัญลักษณ์สักนิด ชีวิต(คนตอบและคนถาม)จะง่ายขึ้นเยอะ (จริงๆนะ)

Stay Hungry. Stay Foolish.

03 มีนาคม 2009 20:48 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ nongtum
เหตุผล: พิมพ์เกิน
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 03 มีนาคม 2009, 20:25
Platootod Platootod ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 27 มกราคม 2009
ข้อความ: 643
Platootod is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ nongtum View Post
งั้นยกตัวอย่างให้ดูละกัน
เมื่อ $p$ เป็นจำนวนเฉพาะ $\phi (p)=p-1$ เพราะ จำนวนเต็มบวกทุกตัวที่น้อยกว่า $p$ ได้แก่ 1,2,...,$p-1$ เป็นจำนวนเฉพาะสัมพัทธ์กับ $p$
จากกฏการนับ และจาก $\phi$ เป็นฟังก์ชันการคูณ ก็จะได้ $\phi (pู^k)=p^k-p^{k-1}=p^k(1-\frac1{p^k})$ และก็สูตรที่ยกมาด้านบนนั่นเองครับ
ตัวอย่างการคำนวณ เช่น $36=2^2\times3^2$ ดังนั้น $\phi(36)=36(1-\frac12)(1-\frac13)=12$
ตรงนี้นะคับ
$\phi (pู^k)=p^k-p^{k-1}=p^k(1-\frac1{p^k})$
ทำไมไม่เท่ากับอย่างนี้ล่ะคับ
$\phi (6ู^2)=36(1-\frac1{6^2})$
หรือว่าต้องทำให้อยู่ในรูปผลคูณของจำนวนเฉพาะคับ
และถ้าคูณกับจำนวนเฉพาะทำไมไม่เท่ากับ
$\phi(36)=36(1-\frac1{2^2})(1-\frac1{3^2})$
จาก
$\phi (pู^k)=p^k-p^{k-1}=p^k(1-\frac1{p^k})$
ตรงนี้อ่ะคับงง
__________________
ปีหน้าฟ้าใหม่ จัดกันได้ที่ค่ายฟิสิกส์

03 มีนาคม 2009 20:29 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 3 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Platootod
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 03 มีนาคม 2009, 20:52
nongtum's Avatar
nongtum nongtum ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 เมษายน 2005
ข้อความ: 3,246
nongtum is on a distinguished road
Default

ขอโทษครับ บรรทัดตอนหา $\phi(p)$ ผมพิมพ์เกินเองล่ะ แก้แล้วๆ
ที่เหลือน่าจะถูกต้อง ไม่ต้องแก้อะไรแล้ว (ที่จริงลองอ้างจากที่่ยกมาตอนแรกก็ได้นะ)
แต่ถ้ายังไม่เชื่อผลการคำนวณ ลองแจงดูก็ได้นะครับว่ามีเลขจำนวนเต็มบวก n ตัวใดบ้างที่ (n,36)=1
__________________
คนไทยร่วมใจอย่าใช้ภาษาวิบัติ
ฝึกพิมพ์สัญลักษณ์สักนิด ชีวิต(คนตอบและคนถาม)จะง่ายขึ้นเยอะ (จริงๆนะ)

Stay Hungry. Stay Foolish.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 04 มีนาคม 2009, 10:47
Naruto-Su.'s Avatar
Naruto-Su. Naruto-Su. ไม่อยู่ในระบบ
เริ่มฝึกวรยุทธ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 22 กุมภาพันธ์ 2009
ข้อความ: 27
Naruto-Su. is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ nongtum View Post
ขอโทษครับ บรรทัดตอนหา $\phi(p)$ ผมพิมพ์เกินเองล่ะ แก้แล้วๆ
ที่เหลือน่าจะถูกต้อง ไม่ต้องแก้อะไรแล้ว (ที่จริงลองอ้างจากที่่ยกมาตอนแรกก็ได้นะ)
แต่ถ้ายังไม่เชื่อผลการคำนวณ ลองแจงดูก็ได้นะครับว่ามีเลขจำนวนเต็มบวก n ตัวใดบ้างที่ (n,36)=1
ตรงนี้มันเกี่ยวอะไรกับ $\phi(p)$ คับหรือ
$\phi(p)$คือการหาจำนวนที่ ห.ร.มของ จำนวนที่ได้จากค่า $\phi(p)$ กับ n = 1
งงอ่ะคับ
แล้วทำไมต้องให้เท่ากับ 2และ 3
ให้เท่ากับ 6 ไม่ได้อ่ะคับในเมื่อ
\(6^2=36\)
__________________
ที่รัก...
มันไม่มีค่าอะไรหรอกนะ
กับความรู้สึกของคนโง่-โง่อย่างฉัน
ยิ่งนานไป... ฉันก็ยิ่งเจ็บ…มากขึ้นทุกวัน
ความเจ็บปวด... จากจุดเล็ก-เล็ก…ก่อตัวขึ้น
...เป็นความเจ็บปวดอย่างไม่มีที่สิ้นสุด
เวลาที่เธออยู่กับเขา...เธอไม่รู้หรอก...
ฉันเจ็บที่ใจอย่างไร

Naruto-Su.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 04 มีนาคม 2009, 12:44
nongtum's Avatar
nongtum nongtum ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 เมษายน 2005
ข้อความ: 3,246
nongtum is on a distinguished road
Default

#7
ตรงที่เน้นสีผมพิมพ์ข้ามไปเองล่ะ ตั้งใจจะหมายถึง $\phi(36)$ น่ะครับ
ส่วนการคำนวณ จำเป็นต้องเขียนให้อยู่ในรูปบัญญัติก่อนใช้ครับ ไม่งั้นจะนับขาดไปครับ ลองแทนดูในสมการที่เจ้าของกระทู้ยกมาก็ได้
__________________
คนไทยร่วมใจอย่าใช้ภาษาวิบัติ
ฝึกพิมพ์สัญลักษณ์สักนิด ชีวิต(คนตอบและคนถาม)จะง่ายขึ้นเยอะ (จริงๆนะ)

Stay Hungry. Stay Foolish.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #9  
Old 04 มีนาคม 2009, 14:17
Naruto-Su.'s Avatar
Naruto-Su. Naruto-Su. ไม่อยู่ในระบบ
เริ่มฝึกวรยุทธ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 22 กุมภาพันธ์ 2009
ข้อความ: 27
Naruto-Su. is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ nongtum View Post
#7
ตรงที่เน้นสีผมพิมพ์ข้ามไปเองล่ะ ตั้งใจจะหมายถึง $\phi(36)$ น่ะครับ
ส่วนการคำนวณ จำเป็นต้องเขียนให้อยู่ในรูปบัญญัติก่อนใช้ครับ ไม่งั้นจะนับขาดไปครับ ลองแทนดูในสมการที่เจ้าของกระทู้ยกมาก็ได้
คือผมต้องการถามว่า$\phi$ มันใช่หาค่าอะไรกันแน่ถ้าเป็นจำนวนเฉพาะให้ -1 ใช่ไหมคับแต่
ถ้าไม่ใช่จำนวนเฉพาะให้ทำแบบคุณ nongtum ใช่ไหมค้บ
แต่เค้าบอกว่าค่าที่ได้ หรม ของค่าที่ได้กับสามสิบหกต้องเท่ากับ หนึ่งแต่หรมของ สิบสองกับสามสิบหกไม่เห้นต้องเท่ากับหนึ่งเลยนี่คับ
ตามนี้อ่ะคับที่บอกว่า หรม ต้องเท่ากับหนึ่ง $\phi (n)$ คือ จำนวนของจำนวนเต็มบวก $k$ ซึ่ง $k\leqslant n$ และ $(k,n)=1$แต่อีกอย่างหนึ่งคือรูปบัญญัติคืออะไรคับ
__________________
ที่รัก...
มันไม่มีค่าอะไรหรอกนะ
กับความรู้สึกของคนโง่-โง่อย่างฉัน
ยิ่งนานไป... ฉันก็ยิ่งเจ็บ…มากขึ้นทุกวัน
ความเจ็บปวด... จากจุดเล็ก-เล็ก…ก่อตัวขึ้น
...เป็นความเจ็บปวดอย่างไม่มีที่สิ้นสุด
เวลาที่เธออยู่กับเขา...เธอไม่รู้หรอก...
ฉันเจ็บที่ใจอย่างไร

Naruto-Su.

04 มีนาคม 2009 14:22 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 4 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Naruto-Su.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #10  
Old 04 มีนาคม 2009, 15:22
nongtum's Avatar
nongtum nongtum ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 เมษายน 2005
ข้อความ: 3,246
nongtum is on a distinguished road
Default

#9
ข้อสงสัยส่วนใหญ่ที่ถามมา มีตอบไปบ้างแล้วใน #1, #2 และ #4

จากตัวอย่างด้านบน
$\begin{eqnarray}
\phi(36)&=&จำนวนสมาชิกของ\{a\in\mathbb{Z}^+\vert 0<a\le36\ และ\ (a,36)=1\}\\
&=&จำนวนสมาชิกของ\{1,5,7,11,13,17,19,23,25,29,31,35\} \\
&=&12\\
\end{eqnarray}$
__________________
คนไทยร่วมใจอย่าใช้ภาษาวิบัติ
ฝึกพิมพ์สัญลักษณ์สักนิด ชีวิต(คนตอบและคนถาม)จะง่ายขึ้นเยอะ (จริงๆนะ)

Stay Hungry. Stay Foolish.

04 มีนาคม 2009 15:25 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 4 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ nongtum
เหตุผล: code edited
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #11  
Old 05 มีนาคม 2009, 12:14
Platootod Platootod ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 27 มกราคม 2009
ข้อความ: 643
Platootod is on a distinguished road
Default

ถามต่อหน่อยคับ
การเขียนในรูปบัญญัติคืออะไร
ใช่เขียนในรูปการคูณกันของจำนวนเฉพาะหรือปล่าวคับ
แล้วถ้า
\phi(10000)
ยังงี้อ่ะคับจะเขียนในแบบบัญญัติยังไงคับ
__________________
ปีหน้าฟ้าใหม่ จัดกันได้ที่ค่ายฟิสิกส์
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #12  
Old 05 มีนาคม 2009, 12:38
nongtum's Avatar
nongtum nongtum ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 เมษายน 2005
ข้อความ: 3,246
nongtum is on a distinguished road
Default

#11
ใช่ครับ เช่น $10000=2^4\times5^4$ เวลาหาค่า $\phi$ ก็ใช้ตัวที่แยกประกอบเสร็จแล้วนี้แหละคิด
พอคิด $\phi$ ได้แล้ว จะเอาค่านี้ไปทำอะไรต่อก็แล้วแต่
__________________
คนไทยร่วมใจอย่าใช้ภาษาวิบัติ
ฝึกพิมพ์สัญลักษณ์สักนิด ชีวิต(คนตอบและคนถาม)จะง่ายขึ้นเยอะ (จริงๆนะ)

Stay Hungry. Stay Foolish.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 04:42


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha