Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 01 กันยายน 2012, 14:33
truetaems truetaems ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 26 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 121
truetaems is on a distinguished road
Default โจทย์ความน่าจะเป็น

กำหนดให้เซต A มีจำนวนสมาชิก 4 ตัว และเซต B มีจำนวนสมาชิก 5 ตัว ถ้าสร้างฟังก์ชันจาก A ไป B จงหาความน่าจะเป็นที่จะได้ฟังก์ชัน 1-1
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 01 กันยายน 2012, 15:58
Euler-Fermat's Avatar
Euler-Fermat Euler-Fermat ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 ตุลาคม 2011
ข้อความ: 448
Euler-Fermat is on a distinguished road
Default

$P(E) =\dfrac{n(E)}{n(S)}$
$n(E) = 5!$
$n(S) = 5^4$
$P(E) = \dfrac{5!}{5^4}$

01 กันยายน 2012 15:58 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Euler-Fermat
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 01 กันยายน 2012, 16:07
truetaems truetaems ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 26 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 121
truetaems is on a distinguished road
Default

ผมมึนตรงหา n(S) นี่เอง =="
ขอบคุณมากครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 01 กันยายน 2012, 17:22
truetaems truetaems ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 26 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 121
truetaems is on a distinguished road
Default

จงเขียนแซมเปิลสเปซจากการทอดลูกเต๋า 6 ลูก เมื่อผู้ทดลองสนใจว่าลูกเต๋าจะขึ้นแต้มคู่้กี่ลูก
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 01 กันยายน 2012, 18:26
Euler-Fermat's Avatar
Euler-Fermat Euler-Fermat ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 ตุลาคม 2011
ข้อความ: 448
Euler-Fermat is on a distinguished road
Default

$n(S) = \left\{\text0,1,2,3,4,5,6\}\right. $

01 กันยายน 2012 18:29 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 9 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Euler-Fermat
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 01 กันยายน 2012, 18:27
truetaems truetaems ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 26 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 121
truetaems is on a distinguished road
Default

คิดยังไงครับ???
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 01 กันยายน 2012, 18:30
Euler-Fermat's Avatar
Euler-Fermat Euler-Fermat ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 ตุลาคม 2011
ข้อความ: 448
Euler-Fermat is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ truetaems View Post
คิดยังไงครับ???
ก็เขาสนใจว่าขึ้นแต้มคู่กี่ลูก แปลว่า เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทั้งหมด คือ ขึ้น 0,1,2,3,4,5,6 ลูก
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 01 กันยายน 2012, 18:51
Keehlzver's Avatar
Keehlzver Keehlzver ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 26 มกราคม 2009
ข้อความ: 533
Keehlzver is on a distinguished road
Default

สำหรับคนที่ยังไม่รู้นะครับ

จำนวนฟังก์ชัน 1-1 จาก $A$ ไป $B$ เมื่อ $n(A)=k$ และ $n(B)=m$ โดยที่ $k \leq m$
คือ $k!\binom{m}{k}$

ถ้า $k > m$ ไม่มีมีฟังก์ชัน 1-1 จาก $A$ ไป $B$

(เมื่อกี้ฮาแตก นึกว่าเต๋ามีแต้มศูนย์ ที่แท้ผมไม่ได้อ่านโจทย์ให้รอบคอบนี่เอง )
__________________
"ชั่วโมงหน้าต้องดีกว่าเดิม!"
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #9  
Old 01 กันยายน 2012, 21:19
Amankris's Avatar
Amankris Amankris ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,492
Amankris is on a distinguished road
Default

#5
เข้าใจ Sample space พลาดไปหรือเปล่า
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #10  
Old 01 กันยายน 2012, 22:28
truetaems truetaems ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 26 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 121
truetaems is on a distinguished road
Default

#7 อ๋อๆ ตอนแรกผมอ่านโจทย์ไม่เข้าใจครับ ขอบคุณครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #11  
Old 01 กันยายน 2012, 23:23
Euler-Fermat's Avatar
Euler-Fermat Euler-Fermat ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 ตุลาคม 2011
ข้อความ: 448
Euler-Fermat is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Amankris View Post
#5
เข้าใจ Sample space พลาดไปหรือเปล่า
ถ้าผมเข้าใจ ผิดโปรดชี้แนะ ด้วยครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #12  
Old 01 กันยายน 2012, 23:43
yellow's Avatar
yellow yellow ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 20 ธันวาคม 2010
ข้อความ: 1,230
yellow is on a distinguished road
Default

สมาชิกของ Sample Space ต้องมีโอกาสเกิดขึ้นเท่าๆ กัน ครับ

ถ้าสนใจแค่แต้มคู่คี่ $n(S) = 2^6$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #13  
Old 04 กันยายน 2012, 17:55
lek2554's Avatar
lek2554 lek2554 ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 07 กันยายน 2010
ข้อความ: 1,036
lek2554 is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Euler-Fermat View Post
$n(S) = \left\{\text0,1,2,3,4,5,6\}\right. $
$S = \left\{0,1,2,3,4,5,6\right\} $

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ yellow View Post
สมาชิกของ Sample Space ต้องมีโอกาสเกิดขึ้นเท่าๆ กัน ครับ
การเขียน Sample Space เขียนได้หลายแบบครับ ขึ้นอยู่กับสิ่งที่เราสนใจ

และสมาชิกแต่ละตัวของ Sample Space ก็ไม่จำเป็นต้องมีโอกาสเกิดขึ้นเท่าๆ กัน ครับ

แต่การหาค่าความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ จากสูตร $P(E)=\dfrac{n(E)}{n(S)} $

ต้องใช้ Sample Space ที่สมาชิกแต่ละตัวมีโอกาสเกิดขึ้นเท่าๆ กันครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #14  
Old 08 กันยายน 2012, 17:33
truetaems truetaems ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 26 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 121
truetaems is on a distinguished road
Default โจทย์ความน่าจะเป็น

สร้างจำนวน 3 หลัก ซึ่งแต่ละหลักเป็นสมาชิกของ {2,3,7,9} แล้วเขียนจำนวนที่สร้างได้ลงในบัตรคำ บัตรละ 1 จำนวน จงหาความน่าจะเป็นที่เมื่อสุ่มหยิบบัตรคำมา 1 ใบ แล้วได้จำนวนที่หารด้วย 3 ได้ลงตัว
-------------------------------------------------------------------------------------------
ตอนนี้ผมคิด n(S) = $4^3$ แต่ผมพยายามหา n(E) แล้วยังไม่ได้เลยครับ

08 กันยายน 2012 17:35 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ truetaems
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #15  
Old 09 กันยายน 2012, 12:32
Euler-Fermat's Avatar
Euler-Fermat Euler-Fermat ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 ตุลาคม 2011
ข้อความ: 448
Euler-Fermat is on a distinguished road
Default

แบ่งเซต $\left\{\ 2,3,7,9 \right\}$ เป็น 4 เซต
$A= \left\{\ 2 \right\},B= \left\{\ 3 \right\},C= \left\{\ 3,9 \right\}$
การที่ จำนวนจะหารด้วย 3 ลงตัว ผลบวกเลขโดดทุกหลัก ต้องหารด้วย 3 ลงตัว
แสดง ว่า มีจำนวนที่หาร 3 ลงตัว $\dbinom{1}{1}\dbinom{1}{1}\dbinom{2}{1} \bullet 3! = 6$ จำนวน
$\therefore n(E) = 6 $
จะได้ $P(E) = \dfrac{n(E)}{n(S)} = \dfrac{6}{64} = \dfrac{3}{32}$

09 กันยายน 2012 12:34 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 6 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Euler-Fermat
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 22:50


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha