Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #166  
Old 28 กรกฎาคม 2010, 23:31
Keehlzver's Avatar
Keehlzver Keehlzver ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 26 มกราคม 2009
ข้อความ: 533
Keehlzver is on a distinguished road
Default

ผมเอามาจาก My Math เล่มที่ 56 ครับ จริงๆโจทย์บอกว่า "จงหาจำนวนจริง $m$ ที่ทำให้ $m^2+5$ เเละ $m^2-5$ เป็นจำนวนกำลังสอง" ซึ่งผมก็ไม่ทราบว่าจะเป็นจำนวนกำลังสองชนิดใด เเต่ขอให้ตอบคำถามภายใต้เงื่อนไขของ "จำนวนกำลังสองของจำนวนเต็มครับ"
__________________
"ชั่วโมงหน้าต้องดีกว่าเดิม!"

28 กรกฎาคม 2010 23:33 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Keehlzver
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #167  
Old 29 กรกฎาคม 2010, 00:23
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Keehlzver View Post
ผมเอามาจาก My Math เล่มที่ 56 ครับ จริงๆโจทย์บอกว่า "จงหาจำนวนจริง $m$ ที่ทำให้ $m^2+5$ เเละ $m^2-5$ เป็นจำนวนกำลังสอง" ซึ่งผมก็ไม่ทราบว่าจะเป็นจำนวนกำลังสองชนิดใด เเต่ขอให้ตอบคำถามภายใต้เงื่อนไขของ "จำนวนกำลังสองของจำนวนเต็มครับ"
ถ้าเป็นจำนวนเต็มก็ไม่มีครับ

สมมติ $m^2+5=a^2, m^2-5=b^2$ เมื่อ $a,b$ เป็นจำนวนเต็ม

จะได้ $10=a^2-b^2$ ซึ่งเป็นไปไม่ได้ใน modulo $4$
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #168  
Old 29 กรกฎาคม 2010, 22:48
Keehlzver's Avatar
Keehlzver Keehlzver ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 26 มกราคม 2009
ข้อความ: 533
Keehlzver is on a distinguished road
Default

ข้อต่อไปละครับพี่ Nooonuii

ว่าเเต่สมการ $a^2-b^2=10$ ตีความได้ว่าไม่มีกำลังสองสมบูรณ์ของจำนวนเต็มใดๆที่ห่างกัน $10$ หน่วยหรือเปล่าครับ?
__________________
"ชั่วโมงหน้าต้องดีกว่าเดิม!"
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #169  
Old 29 กรกฎาคม 2010, 22:55
Onasdi's Avatar
Onasdi Onasdi ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 พฤษภาคม 2005
ข้อความ: 760
Onasdi is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Keehlzver View Post
ว่าเเต่สมการ $a^2-b^2=10$ ตีความได้ว่าไม่มีกำลังสองสมบูรณ์ของจำนวนเต็มใดๆที่ห่างกัน $10$ หน่วยหรือเปล่าครับ?
ใช่แล้วครับ แต่ถ้าดูจากบทพิสูจน์ของข้อที่แล้ว สามารถสรุปได้มากกว่านั้นอีกครับ
$a^2-b^2$ ไม่สามารถเหลือเศษ 2 จากการหารด้วย 4 ได้ ซึ่งตีความได้ว่า
ไม่มีกำลังสองสมบูรณ์ของจำนวนเต็มใดๆที่ห่างกัน $2,6,10,14,18,...$ หน่วยครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #170  
Old 30 กรกฎาคม 2010, 00:06
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

ข้อนี้ง่ายไปรึเปล่า

จงหาค่าของ

$\dfrac{1}{1+\tan{1^{\circ}}}+\dfrac{1}{1+\tan{2^{\circ}}}+\cdots+\dfrac{1}{1+\tan{89^{\circ}}}$
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #171  
Old 30 กรกฎาคม 2010, 00:22
กระบี่เดียวดายแสวงพ่าย's Avatar
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 21 กุมภาพันธ์ 2009
ข้อความ: 647
กระบี่เดียวดายแสวงพ่าย is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ nooonuii View Post
ข้อนี้ง่ายไปรึเปล่า

จงหาค่าของ

$\dfrac{1}{1+\tan{1^{\circ}}}+\dfrac{1}{1+\tan{2^{\circ}}}+\cdots+\dfrac{1}{1+\tan{89^{\circ}}}$
ก็จับคู่เลยครับ
$\dfrac{1}{1+\tan{1^{\circ}}}+\dfrac{1}{1+\tan{89^{\circ}}}=\dfrac{2+tan1^o+tan89^o}{1+\tan1^o+tan89^o+tan1^otan89^o}=1$
เพราะ$tan1^otan89^o=1$
ทำนองเดียวกัน
$\dfrac{1}{1+\tan{2^{\circ}}}+\dfrac{1}{1+\tan{88^{\circ}}}=\dfrac{2+tan2^o+tan88^o}{1+\tan2^o+tan88^o+tan2^otan88^o}=1$
เพราะ$tan2^otan88^o=1$

จับคู่ได้หมดยกเว้น $\dfrac{1}{1+\tan{45^{\circ}}}=0.5$
ตอบ 44.5 ครับ

30 กรกฎาคม 2010 00:26 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ กระบี่เดียวดายแสวงพ่าย
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #172  
Old 30 กรกฎาคม 2010, 00:24
MiNd169's Avatar
MiNd169 MiNd169 ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 15 สิงหาคม 2009
ข้อความ: 444
MiNd169 is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ nooonuii View Post
ข้อนี้ง่ายไปรึเปล่า

จงหาค่าของ

$\dfrac{1}{1+\tan{1^{\circ}}}+\dfrac{1}{1+\tan{2^{\circ}}}+\cdots+\dfrac{1}{1+\tan{89^{\circ}}}$
ใช้ Co-function
$\dfrac{1}{1+\tan{89^{\circ}}} = \dfrac{tan{1^{\circ}}}{1+\tan{1^{\circ}}}$

$\dfrac{tan{1^{\circ}}}{1+\tan{1^{\circ}}} + \dfrac{1}{1+\tan{1^{\circ}}} = 1$

$\dfrac{1}{1+\tan{88^{\circ}}} = \dfrac{tan{2^{\circ}}}{1+\tan{2^{\circ}}}$

$\dfrac{tan{2^{\circ}}}{1+\tan{2^{\circ}}} + \dfrac{1}{1+\tan{2^{\circ}}} = 1$

ทำไปเรื่อยๆ ได้ 44 คู่ คือ 44

$\dfrac{1}{1+\tan{45^{\circ}}} = \frac{1}{2} $

$\therefore 44 + \frac{1}{2}$ = 44.5
_________________________________________

กำหนด $tan A = \sqrt[3]{9+4\sqrt{5}}$ และ $cot A = \sqrt[3]{9-4\sqrt{5}}$ แล้ว $tan A + cot A = ?$
__________________
แข่งคณิตฯ คิดได้ ง่ายดายเหลือ
แข่งทุกเมื่อ ร้อนแรง แจ้งประจักษ์
รับรางวัล หลากหลาย มากมายนัก
แต่แข่งรัก ยากแท้ แพ้ใจเธอ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #173  
Old 30 กรกฎาคม 2010, 00:29
poper's Avatar
poper poper ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 พฤษภาคม 2010
ข้อความ: 2,643
poper is on a distinguished road
Send a message via MSN to poper
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ nooonuii View Post
ข้อนี้ง่ายไปรึเปล่า

จงหาค่าของ

$\dfrac{1}{1+\tan{1^{\circ}}}+\dfrac{1}{1+\tan{2^{\circ}}}+\cdots+\dfrac{1}{1+\tan{89^{\circ}}}$
$$=\frac{tan89}{1+tan89}+\frac{tan88}{1+tan88}+...+\frac{tan46}{1+tan46}+\frac{1}{2}+\frac{tan46}{1+tan46}+...+\frac{tan89}{1+ta n89}$$
$$=\frac{1}{2}+44=44\frac{1}{2}=\frac{89}{2}$$
__________________
คณิตศาสตร์ คือ ภาษาสากล
คณิตศาสตร์ คือ ความสวยงาม
คณิตศาสตร์ คือ ความจริง
ติดตามชมคลิปวีดีโอได้ที่http://www.youtube.com/user/poperKM
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #174  
Old 30 กรกฎาคม 2010, 00:33
กระบี่เดียวดายแสวงพ่าย's Avatar
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 21 กุมภาพันธ์ 2009
ข้อความ: 647
กระบี่เดียวดายแสวงพ่าย is on a distinguished road
Default

ตอบ 3 ครับ
ไว้ค่อยมาโพสวิธีทำนะครับ วันนี้นอนก่อนครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #175  
Old 30 กรกฎาคม 2010, 15:57
tongkub tongkub ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 22 ธันวาคม 2009
ข้อความ: 312
tongkub is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ MiNd169 View Post

กำหนด $tan A = \sqrt[3]{9+4\sqrt{5}}$ และ $cot A = \sqrt[3]{9-4\sqrt{5}}$ แล้ว $tan A + cot A = ?$

ให้ tan A = A , cot A = B

พิจาีรณา $A^3 + B^3 = (A+B)(A^2 -AB + B^2)$

$A+B = \frac{A^3 + B^3}{A^2 - AB + B^2}$

$A+B = \frac{A^3 + B^3}{(A+B)^2 - 3AB}$

เนื่องจาก$A^3 + B^3 = 18$
$AB = 1$

ให้ $A+B = x$

$ x = \frac{18}{x^2 - 3}$

$ x^3 - 3x - 18 = 0$
$(x-3)(x^2 + 3x + 6) = 0 $

พบว่า $x-3$ ใช้ได้ $\therefore x = 3$

ต่อเลยครับ

จงหาค่่าของ $sin(\frac{15\pi}{34})sin(\frac{13\pi}{34})sin(\frac{9\pi}{34})sin(\frac{\pi}{34})$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #176  
Old 30 กรกฎาคม 2010, 17:38
Siren-Of-Step's Avatar
Siren-Of-Step Siren-Of-Step ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 กันยายน 2009
ข้อความ: 2,081
Siren-Of-Step is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ nooonuii View Post
ข้อนี้ง่ายไปรึเปล่า

จงหาค่าของ

$\dfrac{1}{1+\tan{1^{\circ}}}+\dfrac{1}{1+\tan{2^{\circ}}}+\cdots+\dfrac{1}{1+\tan{89^{\circ}}}$
จับคู่ $1-89 , 2-88 ,...,44-46,45$
$tanA = \frac{1}{tan(90-A}$
หารูปแบบทั่วไป จะได้ $\frac{1}{1+tanA} + \frac{1}{1+tan(90-A)}$
$\frac{1}{1+\frac{1}{tan(90-A)} } + \frac{1}{1+tan(90-A)}$
ให้ $tan(90-A) = T$
จะได้ $\frac{T}{T+1} + \frac{1}{1+T} = 1$

ตอบ $44\frac{1}{2} $
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #177  
Old 30 กรกฎาคม 2010, 18:48
Ne[S]zA's Avatar
Ne[S]zA Ne[S]zA ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 กรกฎาคม 2008
ข้อความ: 1,221
Ne[S]zA is on a distinguished road
Default

จงหาค่าของ $\sin^31^{\circ}+\sin^32^{\circ}+\sin^33^{\circ}+...+\sin^3360^{\circ}$
__________________
||!<<<<iNesZaii>>>>!||
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #178  
Old 30 กรกฎาคม 2010, 19:39
~ArT_Ty~'s Avatar
~ArT_Ty~ ~ArT_Ty~ ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 03 กรกฎาคม 2010
ข้อความ: 1,081
~ArT_Ty~ is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Ne[S]zA View Post
จงหาค่าของ $\sin^31^{\circ}+\sin^32^{\circ}+\sin^33^{\circ}+...+\sin^3360^{\circ}$
$\sin^3 \theta=-\sin^3 (360-\theta ) $

$\therefore sin^31^{\circ}+\sin^32^{\circ}+\sin^33^{\circ}+...+\sin^3360^{\circ}=\sin^3 360^{\circ}=0$
__________________
...สีชมพูจะไม่จางด้วยเหงื่อ แต่จะจางด้วยนํ้าลาย...

30 กรกฎาคม 2010 19:40 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ ~ArT_Ty~
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #179  
Old 30 กรกฎาคม 2010, 23:18
กระบี่เดียวดายแสวงพ่าย's Avatar
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 21 กุมภาพันธ์ 2009
ข้อความ: 647
กระบี่เดียวดายแสวงพ่าย is on a distinguished road
Default

คุณ nesza ข้ามข้อคำถามคุณtongkubไหมเอ่ย?
ลองมาเฉลยของคุณtongkubก่อนนะครับ
ใช้ co-function
แปลงร่าง $sin\frac{15\pi }{34} = cos\frac{2\pi }{34} $
ทำนองเดียวกัน $sin\frac{13\pi }{34} = cos\frac{4\pi }{34} $
$sin\frac{9\pi }{34} = cos\frac{8\pi }{34} $
$sin\frac{\pi }{34} = cos\frac{16\pi }{34} $
ให้ $a= sin\frac{15\pi }{34}sin\frac{13\pi }{34}sin\frac{9\pi }{34}sin\frac{\pi }{34} $
จะได้ว่า $a= cos\frac{2\pi }{34}cos\frac{4\pi }{34}cos\frac{8\pi }{34}cos\frac{16\pi }{34} $
จากนั้น เอา$2sin\frac{2\pi }{34}$คูณตลอด
ได้ $2sin\frac{2\pi }{34}a= sin\frac{4\pi }{34}cos\frac{4\pi }{34}cos\frac{8\pi }{34}cos\frac{16\pi }{34} $
เอา 2 คูณ อีก 3รอบจะได้
$16sin\frac{2\pi }{34}a=sin\frac{32\pi }{34}$
และ$sin\frac{2\pi }{34}=sin\frac{32\pi }{34}$
คำตอบคือ $\frac{1}{16}$

30 กรกฎาคม 2010 23:19 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ กระบี่เดียวดายแสวงพ่าย
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #180  
Old 02 สิงหาคม 2010, 12:23
กระบี่เดียวดายแสวงพ่าย's Avatar
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 21 กุมภาพันธ์ 2009
ข้อความ: 647
กระบี่เดียวดายแสวงพ่าย is on a distinguished road
Default

ไปต่างจังหวัดมาหลายวัน กระทู้นี้เงียบเลยครับ
ปลุกเสียหน่อย
กำหนดให้ $f(x) =\dfrac{x}{1+\dfrac{x}{1+...} } $
จงหา$f'(6)$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply


หัวข้อคล้ายคลึงกัน
หัวข้อ ผู้ตั้งหัวข้อ ห้อง คำตอบ ข้อความล่าสุด
แฟนพันธุ์แท้ คณิตศาสตร์ Marathon nooonuii ปัญหาคณิตศาสตร์ทั่วไป 318 01 ตุลาคม 2021 21:29
Marathon Mastermander ฟรีสไตล์ 6 02 มีนาคม 2011 23:19
Marathon - มัธยมต้น คusักคณิm ปัญหาคณิตศาสตร์ ม. ต้น 254 08 สิงหาคม 2010 20:47
Marathon ##วิทย์คำนวณ## คusักคณิm ปัญหาคณิตศาสตร์ ประถมปลาย 24 13 พฤษภาคม 2010 21:19
Marathon race... Fearlless[prince] ปัญหาคณิตศาสตร์ทั่วไป 3 14 กุมภาพันธ์ 2008 15:53


กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 19:46


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha