Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > อสมการ
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 04 ธันวาคม 2008, 17:15
[SIL]'s Avatar
[SIL] [SIL] ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 กรกฎาคม 2008
ข้อความ: 1,520
[SIL] is on a distinguished road
Default อสมการเล่ม สสวท.

ช่วยเคาะสนิมออกจากหัวผมด้วยครับ (วิธีทางอุปนัยเชิงคณิตศาสตร์ก็ได้นะครับ)
1. ให้ $n$ เป็นจำนวนนับจงแสดงว่า
☺$2\sqrt{n+1}-2<1+\frac{1}{\sqrt{2}}+\frac{1}{\sqrt{3}}+...+\frac{1}{\sqrt{n}}<2\sqrt{n}$

2. สำหรับจำนวนนับใดๆ จงแสดงว่า
☺$2^n \geqslant 2n$
3. สำหรับจำนวนนับ $n \geqslant 2$ จงพิสูจน์ว่า
☺$\frac{1}{2^2}+\frac{1}{3^2}+...+\frac{1}{n^2}<1-\frac{1}{n}$

4. จงพิสูจน์ว่า
☺$\frac{1}{1999}<\frac{1}{2}\bullet\frac{3}{4}\bullet\frac{5}{6}...\frac{1997}{1998}<\frac{1}{44}$

5. ให้ $a,b,c \geqslant 0$ จงแสดงว่า
☺$\frac{a+b+c}{1+a+b+c} \leqslant \frac{a}{1+a}+\frac{b}{1+b}+\frac{c}{1+c}$

6. กำหนดให้ n \geqslant 2 และให้ a_i \geqslant 1 สำหรับ i = 1,2,..,n จงพิสูจน์ว่า
☺$2^{n-1}(a_1a_2...a_n+1) \geqslant (1+a_1)(1+a_2)...(1+a_n)$

7. กำหนดให้ a,b,c เป็นจำนวนจริงใดๆ จงแสดงว่า
☺$\left|\,a+b\right|+\left|\,b+c\right|+\left|\,c+a\right| \leqslant \left|\,a\right|+\left|\,b\right|+\left|\,c\right|+\left|\,a+b+c\right|$

05 ธันวาคม 2008 10:44 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ [SIL]
เหตุผล: ลบข้อความ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 04 ธันวาคม 2008, 17:25
beginner01 beginner01 ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าหยก
 
วันที่สมัครสมาชิก: 15 กันยายน 2008
ข้อความ: 177
beginner01 is on a distinguished road
Default

$a^ab^bc^c\geq a^bb^cc^a$ สมมาตรหรือครับ?
ลองแทน $a,b$ สลับกันเอง $c$ คงที่ไว้ มันกลายเป็น
$a^ab^bc^c\geq a^cb^ac^b$ ซึ่งมันไม่เหมือนเดิมน่ะครับ
__________________
จะคิดเลขก็ติดขัด จะคิดรักก็ติดพัน
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 04 ธันวาคม 2008, 17:26
หยินหยาง's Avatar
หยินหยาง หยินหยาง ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่จักรวาล
 
วันที่สมัครสมาชิก: 06 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,921
หยินหยาง is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ [SIL] View Post
ช่วยเคาะสนิมออกจากหัวผมด้วยครับ (วิธีทางอุปนัยเชิงคณิตศาสตร์ก็ได้นะครับ)

5. ให้ $a,b,c \geqslant 0$ จงแสดงว่า
☺$\frac{a+b+c}{1+a+b+c} \geqslant \frac{a}{1+a}+\frac{b}{1+b}+\frac{c}{1+c}$
ข้อ 5 เครื่องหมายผิดหรือเปล่าครับ โจทย์น่าจะเป็นแบบนี้ครับ
$\frac{a+b+c}{1+a+b+c} \leqslant \frac{a}{1+a}+\frac{b}{1+b}+\frac{c}{1+c}$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 04 ธันวาคม 2008, 17:45
[SIL]'s Avatar
[SIL] [SIL] ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 กรกฎาคม 2008
ข้อความ: 1,520
[SIL] is on a distinguished road
Default

ขอบคุณคุณ beginner01มากครับ ผมคงยังไม่เข้าใจคำว่า สมมาตรสักเท่าไหร่ครับ (อ่อนหัดน่ะแหละ )
ข้อ 5 เปลี่ยนเครื่องหมายแล้วนะครับ พิมพ์ผิดจริง ขอประทานอภัย
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 05 ธันวาคม 2008, 09:52
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:

(i) $a^ab^bc^c \geqslant a^bb^cc^a$
วิธีทำของผม โดยไม่เสียนัยทั่วไปกำหนดให้ $a\geqslant b\geqslant c$ แล้วแทนลงไปในอสมการจะได้ว่า
$a^aa^aa^a\geqslant c^cc^cc^c$
$a\geqslant c $ เป็นจริง

(ii) $a^ab^bc^c \geqslant (abc)^{\frac{a+b+c}{3}}$
วิธีทำของผม โดยไม่เสียนัยทั่วไปกำหนดให้ $a\geqslant b\geqslant c$ แล้วแทนลงไปในอสมการจะได้ว่า
$a^aa^aa^a\geqslant (ccc)^{\frac{c+c+c}{3}}$
$a\geqslant c $ เป็นจริง
ผมว่ายังไม่ถูกครับ

อ้างอิง:
2. โจทย์มีอยู่ว่า
(i) จงแสดงว่า $\frac{1}{n+1}+\frac{1}{n+2}+...+\frac{1}{2n} \geqslant \frac{1}{2}$ เมื่อ n เป็นจำนวนนับใดๆ
พิสูจน์ว่าแต่ละเทอม $\geq\dfrac{1}{2n}$
__________________
site:mathcenter.net คำค้น

05 ธันวาคม 2008 09:55 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ nooonuii
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 05 ธันวาคม 2008, 10:45
[SIL]'s Avatar
[SIL] [SIL] ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 กรกฎาคม 2008
ข้อความ: 1,520
[SIL] is on a distinguished road
Default

ขอบคุณครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 05 ธันวาคม 2008, 13:08
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
2. สำหรับจำนวนนับใดๆ จงแสดงว่า $2^n \geqslant 2n$
ข้อนี้ใช้ induction ก็ไม่ยากเลย ลองฝึกเขียนดูครับ

แต่ผมมีอีกวิธีนึงซึ่งสวยดี

__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 05 ธันวาคม 2008, 13:16
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
1. ให้ $n$ เป็นจำนวนนับจงแสดงว่า
☺$2\sqrt{n+1}-2<1+\frac{1}{\sqrt{2}}+\frac{1}{\sqrt{3}}+...+\frac{1}{\sqrt{n}}<2\sqrt{n}$
พิสูจน์ว่า สำหรับทุก $k$ $$\sqrt{k+1}-\sqrt{k}<\dfrac{1}{2\sqrt{k}}<\sqrt{k}-\sqrt{k-1}$$
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #9  
Old 05 ธันวาคม 2008, 13:19
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
5. ให้ $a,b,c \geqslant 0$ จงแสดงว่า
☺$\frac{a+b+c}{1+a+b+c} \leqslant \frac{a}{1+a}+\frac{b}{1+b}+\frac{c}{1+c}$
พิสูจน์อสมการสำหรับ 2 ตัวแปรก่อน คือ

$\frac{a+b}{1+a+b} \leqslant \frac{a}{1+a}+\frac{b}{1+b}$

แล้วนำอสมการนี้ไปประยุกต์กับสามตัวแปรโดยใช้แนวคิดแบบ induction
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #10  
Old 05 ธันวาคม 2008, 17:59
[SIL]'s Avatar
[SIL] [SIL] ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 กรกฎาคม 2008
ข้อความ: 1,520
[SIL] is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ nooonuii View Post
ข้อนี้ใช้ induction ก็ไม่ยากเลย ลองฝึกเขียนดูครับ

แต่ผมมีอีกวิธีนึงซึ่งสวยดี

ในทฤษฎีบททวินามผมใช้เป็นอยู่รูปเดียวคือ $(1+x)^m>1+mx$ เมื่อ $m > 1$ (แต่ก็ยังไม่คล่องเลยครับ)
ในส่วนที่คุณ nooonuii เสริมให้ผมว่าสวยดีครับ ตรงนี้ผมยังไม่เคยใช้เลยครับ ขอบคุณมากๆครับ

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ nooonuii View Post
พิสูจน์ว่า สำหรับทุก $k$ $$\sqrt{k+1}-\sqrt{k}<\dfrac{1}{2\sqrt{k}}<\sqrt{k}-\sqrt{k-1}$$
ตรงนี้ผมพอจะพิสูจน์ได้ครับ แต่ผมไม่ทราบว่าจะนำไปประยุกต์ได้อย่างไร รบกวนแนะนำให้อีกสักนิดครับ

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ nooonuii View Post
พิสูจน์อสมการสำหรับ 2 ตัวแปรก่อน คือ

$\frac{a+b}{1+a+b} \leqslant \frac{a}{1+a}+\frac{b}{1+b}$

แล้วนำอสมการนี้ไปประยุกต์กับสามตัวแปรโดยใช้แนวคิดแบบ induction
ผมไม่ทราบว่าที่คุณ nooonuii บอกหมายถึงอย่างนี้หรือเปล่าครับ รบกวนชี้แนะด้วยครับ

(**)กำหนดให้ $n \in N$ที่ $\geqslant 2$ จงพิสูจน์ว่า $\frac{a_1+a_2+...+a_n}{1+a_1+a_2+...+a_n} \leqslant \frac{a}{1+a_1}+\frac{a}{1+a_2}+...+\frac{a_n}{1+a_n}$
พิสูจน์โดยวิธีอุปนัย(ลองทำแล้วไม่เป็นผลครับติดในรูปที่ยุ่งเหยิงไปหมดเลย)
แต่ถ้าพิสูจน์ได้เราก็สามารถกำหนดให้ $a_i$ ทุก $i= 1,2,...,n$ เป็นตัวแปรอะไรก็ได้โดยไม่เสียนัยทั่วไปหรือเปล่าครับ
ช่วงนี้ครูไปทำกิจกรรมโรงเรียนผมปิดถึงวันที่ 10 เลยครับผมเลยอยากลองศึกษาดูบ้าง รบกวนชี้แนะด้วยครับ

07 ธันวาคม 2008 21:10 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ nongtum
เหตุผล: posts merged
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #11  
Old 05 ธันวาคม 2008, 22:09
POSN_Psychoror's Avatar
POSN_Psychoror POSN_Psychoror ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 ตุลาคม 2008
ข้อความ: 84
POSN_Psychoror is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ [SIL] View Post
ผมไม่ทราบว่าที่คุณ nooonuii บอกหมายถึงอย่างนี้หรือเปล่าครับ รบกวนชี้แนะด้วยครับ

(**)กำหนดให้ $n \in N$ที่ $\geqslant 2$ จงพิสูจน์ว่า $\frac{a_1+a_2+...+a_n}{1+a_1+a_2+...+a_n} \leqslant \frac{a}{1+a_1}+\frac{a}{1+a_2}+...+\frac{a_n}{1+a_n}$
พิสูจน์โดยวิธีอุปนัย(ลองทำแล้วไม่เป็นผลครับติดในรูปที่ยุ่งเหยิงไปหมดเลย)
แต่ถ้าพิสูจน์ได้เราก็สามารถกำหนดให้ $a_i$ ทุก $i= 1,2,...,n$ เป็นตัวแปรอะไรก็ได้โดยไม่เสียนัยทั่วไปหรือเปล่าครับ
ช่วงนี้ครูไปทำกิจกรรมโรงเรียนผมปิดถึงวันที่ 10 เลยครับผมเลยอยากลองศึกษาดูบ้าง รบกวนชี้แนะด้วยครับ
................
ข้อนี้ไม่จำเป็นต้องคิดอะไรมาก ดูทีละพจน์เอา
$\frac{a_1}{1+a_1+a_2+...+a_n} \leqslant \frac{a_1}{1+a_1}$ , $\frac{a_2}{1+a_1+a_2+...+a_n} \leqslant \frac{a_2}{1+a_2}$
...
$\frac{a_n}{1+a_1+a_2+...+a_n} \leqslant \frac{a_n}{1+a_n}$

แล้วนำมาบวกกัน
...............
__________________
I'm POSN_Psychoror...

05 ธันวาคม 2008 22:11 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 3 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ POSN_Psychoror
เหตุผล: เขียนผิด
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #12  
Old 05 ธันวาคม 2008, 22:20
[SIL]'s Avatar
[SIL] [SIL] ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 กรกฎาคม 2008
ข้อความ: 1,520
[SIL] is on a distinguished road
Default

ขอบคุณมากครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #13  
Old 06 ธันวาคม 2008, 09:02
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ [SIL] View Post
ตรงนี้ผมพอจะพิสูจน์ได้ครับ แต่ผมไม่ทราบว่าจะนำไปประยุกต์ได้อย่างไร รบกวนแนะนำให้อีกสักนิดครับ
แทนค่า $k=1,2,...,n$ จะได้อสมการออกมา $n$ ชุด ลองบวกอสมการทั้งหมดดูสิครับ
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #14  
Old 06 ธันวาคม 2008, 09:18
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
7. กำหนดให้ a,b,c เป็นจำนวนจริงใดๆ จงแสดงว่า
☺$\left|\,a+b\right|+\left|\,b+c\right|+\left|\,c+a\right| \leqslant \left|\,a\right|+\left|\,b\right|+\left|\,c\right|+\left|\,a+b+c\right|$
สมมติว่า $|a|\leq|b|\leq|c|$

ถ้า $c=0$ จบ

สมมติว่า $c\neq 0$

จะได้

$|1+\dfrac{a}{c}|=1+\dfrac{a}{c}$

$|1+\dfrac{b}{c}|=1+\dfrac{b}{c}$

ดังนั้น

$|1+\dfrac{a}{c}|+|1+\dfrac{b}{c}|\leq 1+|1+\dfrac{a}{c}+\dfrac{b}{c}|$

เราจึงได้

$|a+c|+|b+c|\leq |c|+|a+b+c|$

ที่เหลือไม่ยากแล้วล่ะ
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #15  
Old 22 เมษายน 2009, 09:23
benz_yrc's Avatar
benz_yrc benz_yrc ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 มกราคม 2009
ข้อความ: 61
benz_yrc is on a distinguished road
Send a message via MSN to benz_yrc
Default

ขอบคุนนะครับ ๆ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 18:03


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha