Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย > ข้อสอบในโรงเรียน ม.ปลาย
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #16  
Old 23 มกราคม 2011, 02:45
Yuranan Yuranan ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าหยก
 
วันที่สมัครสมาชิก: 05 ธันวาคม 2010
ข้อความ: 175
Yuranan is on a distinguished road
Default

ข้อ 27 นี่คล้ายกับข้อ 20 ครับ โดยสังเกตว่า $\angle(x+\theta_1 )+\angle(x+\theta_2)+\angle(x+\theta_3)$ โดยที่ x คือมุมของรากตัวใดๆของสมการ $x^{2553}=1$ จะเห็นได้ว่าเมื่อรากทั้งสามตัวอยู่ภายในครึ่งวงกลมเดียวกันจะได้ว่า $ \left|\,\right. \angle(x+\theta_1 )+\angle(x+\theta_2)+\angle(x+\theta_3)\left.\,\right|> 1$ เสมอ ดังนั้นความน่าจะเป็นคือ $\frac{1}{2}$ ครับ

23 มกราคม 2011 02:47 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Yuranan
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #17  
Old 23 มกราคม 2011, 03:49
Yuranan Yuranan ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าหยก
 
วันที่สมัครสมาชิก: 05 ธันวาคม 2010
ข้อความ: 175
Yuranan is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ LightLucifer View Post
ข้อ 14 โจทย์ผิดนะครับเพราะคิดแล้วจะได้พหุนาม 0
ผมว่าไม่ผิดนะครับ เพียงแต่ว่า $p(5)=144$ นั้นไม่ได้เป็นจุดที่ทำให้พหุนามนี้มีดีกรีเพิ่มขึ้น แต่อย่างไรก็ตามสามารถหาพหุนามที่สอดคล้องกับจุดทั้ง 5 ได้ครับ โดยใช้ Newton form ครับจะได้ว่า $$P(x)=24+12(x-1)+8(x-1)(x-2)-(x-1)(x-2)(x-3)$$ จึงได้ว่า $P(6)=184$ ครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #18  
Old 23 มกราคม 2011, 04:55
Yuranan Yuranan ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าหยก
 
วันที่สมัครสมาชิก: 05 ธันวาคม 2010
ข้อความ: 175
Yuranan is on a distinguished road
Default

ข้อ 32 พิจารณา $\sqrt{(x+\frac{1}{2})^2+\frac{75}{4}}-\sqrt{(x+\frac{1
}{2})^2+\frac{27}{4}}+\sqrt{(x+\frac{1}{2})^2+\frac{3}{4}}$ ที่จุด $-\frac{1}{2}$ และจุดที่อยู่ด้านข้างเช่น 0 และ -1 จะได้ว่า $$min(\sqrt{(x+\frac{1}{2})^2+\frac{75}{4}}-\sqrt{(x+\frac{1}{2})^2+\frac{27}{4}}+\sqrt{(x+\frac{1}{2})^2+\frac{3}{4}})=\frac{3\sqrt{3}}{2}$$ ที่จุด $x=-\frac{1}{2}$ ครับ

23 มกราคม 2011 04:58 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Yuranan
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #19  
Old 23 มกราคม 2011, 13:50
Amankris's Avatar
Amankris Amankris ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,492
Amankris is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Yuranan View Post
จะเห็นได้ว่าเมื่อรากทั้งสามตัวอยู่ภายในครึ่งวงกลมเดียวกันจะได้ว่า $ \left|\,\right. \angle(x+\theta_1 )+\angle(x+\theta_2)+\angle(x+\theta_3)\left.\,\right|> 1$ เสมอ
ตรงนี้ เห็นด้วยครับ แต่ผมว่ายังไม่ชัดเจนที่จะสรุปว่า
$\left|z_1+z_2+z_3\right|>1$ ก็ต่อเมื่อ $z_1,z_2,z_3$ อยู่ในครึ่งวงกลม


อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Yuranan View Post
ดังนั้นความน่าจะเป็นคือ $\frac{1}{2}$ ครับ
ไม่ทราบว่าหาอย่างไรครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #20  
Old 23 มกราคม 2011, 17:27
LightLucifer's Avatar
LightLucifer LightLucifer ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 กันยายน 2008
ข้อความ: 2,352
LightLucifer is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Yuranan View Post
ผมว่าไม่ผิดนะครับ เพียงแต่ว่า $p(5)=144$ นั้นไม่ได้เป็นจุดที่ทำให้พหุนามนี้มีดีกรีเพิ่มขึ้น แต่อย่างไรก็ตามสามารถหาพหุนามที่สอดคล้องกับจุดทั้ง 5 ได้ครับ โดยใช้ Newton form ครับจะได้ว่า $$P(x)=24+12(x-1)+8(x-1)(x-2)-(x-1)(x-2)(x-3)$$ จึงได้ว่า $P(6)=184$ ครับ
คารวะ

เดี๋ยวนะครับๆ โจทย์บอกว่า $p(x)$ เป็นดีกรี 4 นะครับ
__________________
เหนือฟ้ายังมีฟ้าแต่เหนือข้าต้องไม่มีใคร

ปีกขี้ผื้งของปลอมงั้นสินะ


...โลกนี้โหดร้ายจริงๆ มันให้ความสุขกับเรา แล้วสุดท้าย มันก็เอาคืนไป...

23 มกราคม 2011 17:34 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ LightLucifer
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #21  
Old 23 มกราคม 2011, 17:44
Yuranan Yuranan ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าหยก
 
วันที่สมัครสมาชิก: 05 ธันวาคม 2010
ข้อความ: 175
Yuranan is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ LightLucifer View Post
คารวะ

เดี๋ยวนะครับๆ โจทย์บอกว่า $p(x)$ เป็นดีกรี 4 นะครับ
ครับคุณ LightLucifer พูดถูกครับดังนั้นเงื่อนไขดีกรี 4 น่าจะผิดครับ ผมมองว่าคนออกข้อสอบไม่ได้เช็คว่าจุดทั้ง 5 จุดนี้สามารถสร้างพหุนามดีกรี 4 ได้หรือไม่ แต่อย่างไรก็ตามผมมองว่าเค้าสนใจให้เราหา P(6) นะครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #22  
Old 23 มกราคม 2011, 17:54
Yuranan Yuranan ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าหยก
 
วันที่สมัครสมาชิก: 05 ธันวาคม 2010
ข้อความ: 175
Yuranan is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Amankris View Post
ตรงนี้ เห็นด้วยครับ แต่ผมว่ายังไม่ชัดเจนที่จะสรุปว่า
$\left|z_1+z_2+z_3\right|>1$ ก็ต่อเมื่อ $z_1,z_2,z_3$ อยู่ในครึ่งวงกลม



ไม่ทราบว่าหาอย่างไรครับ
ผมมองคำตอบทั้งสามเป็นเวกเตอร์ครับ ถ้าเวกเตอร์ทั้งสามอยู่ใกล้ๆกัน จะเห็นได้ว่าขนาดของผลบวกของเวกเตอร์จะมีค่ามากกว่าหนึ่งอย่างแน่นอน แต่เมื่อเวกเตอร์ทั้งสามวางห่างกันมากขึ้น ผลบวกของขนาดย่อมมีค่าลดลง ผมจึงพิจารณาให้เวกเตอร์สองตัววางห่างกัน 180 องศาจะเห็นได้ว่า ผลบวกของเวกเตอร์ทั้งสองตัวนี้จะมีค่าเป็นศูนย์ดังนั้น (จากโจทย์ข้อนี้ เราไม่สามารถวางให้เวกเตอร์สองตัวห่างกัน 180 องศาได้เพราะคำตอบที่ได้จะไม่สอดคล้องกับโจทย์ ดังนั้นขนาดผลรวมของเวกเตอร์ทั้งสามย่อมมีค่ามากกว่าหนึ่งครับ) ดังนั้นขนาดผลรวมของเวกเตอร์ทั้งสามย่อมมีค่าเป็นหนึ่ง ไม่ว่าเวกเตอร์ตัวที่สามจะวางอยู่ไหน ดังนั้นภายในครึ่งวงกลม ขนาดผลบวกของเวกเตอร์ทั้งสามย่อมมีค่ามากกว่าหนึ่งครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #23  
Old 23 มกราคม 2011, 21:19
Amankris's Avatar
Amankris Amankris ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,492
Amankris is on a distinguished road
Default

@#22
แต่ก็ยังไม่ได้บอกว่า "ถ้า $|z_1+z_2+z_3|>1$ แล้ว $z_1,z_2,z_3$ จะอยู่ในครึ่งวงกลมเดียวกันได้" นี่ครับ

@#18
พิจารณาแค่ สามจุดก็สรุปค่าต่ำสุดได้เลยหรือครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #24  
Old 23 มกราคม 2011, 22:32
Yuranan Yuranan ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าหยก
 
วันที่สมัครสมาชิก: 05 ธันวาคม 2010
ข้อความ: 175
Yuranan is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Amankris View Post
@#22
แต่ก็ยังไม่ได้บอกว่า "ถ้า $|z_1+z_2+z_3|>1$ แล้ว $z_1,z_2,z_3$ จะอยู่ในครึ่งวงกลมเดียวกันได้" นี่ครับ

@#18
พิจารณาแค่ สามจุดก็สรุปค่าต่ำสุดได้เลยหรือครับ
#22 ผมให้ แต่ล่ะคำตอบเป็น $e^{i\theta_1},e^{i\theta_2},e^{i\theta_3}$ จะได้ว่า ขนาดของผลบวกเป็น $\sqrt{3+2(cos(\theta_1-\theta_2)+cos(\theta_1-\theta_3)+cos(\theta_2-\theta_3)}$ จึงเห็นได้ว่าถ้า $\theta_1=0^o,\theta_2=180^o$ จึงได้ว่า $|z_1+z_2+z_3|=1$ ซึ่งเป็นกรณีต่ำสุดครับ เมื่อ มุมของแต่ละรากมีค่าใกล้เคียงกันจะได้ว่า $|z_1+z_2+z_3|>1$ ครับ
#20 ครับผมสังเกตจากมันน่าจะมีจุดต่ำสุดที่ x=-0.5 นะครับแต่เนื่องจากกราฟนี้มีความสมมาตรที่จุด x=-0.5 ดังนั้นเมื่อลองแทน x=0 และ x=1 ลงไป จะเห็นได้ว่ากราฟมีลัษณะคล้ายพาราโบลาหงายมีจุดต่ำสุดที่ x=-0.5 ครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #25  
Old 23 มกราคม 2011, 22:53
Amankris's Avatar
Amankris Amankris ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,492
Amankris is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Yuranan View Post
#22 ผมให้ แต่ล่ะคำตอบเป็น $e^{i\theta_1},e^{i\theta_2},e^{i\theta_3}$ จะได้ว่า ขนาดของผลบวกเป็น $\sqrt{3+2(cos(\theta_1-\theta_2)+cos(\theta_1-\theta_3)+cos(\theta_2-\theta_3)}$ จึงเห็นได้ว่าถ้า $\theta_1=0^o,\theta_2=180^o$ จึงได้ว่า $|z_1+z_2+z_3|=1$ ซึ่งเป็นกรณีต่ำสุดครับ เมื่อ มุมของแต่ละรากมีค่าใกล้เคียงกันจะได้ว่า $|z_1+z_2+z_3|>1$ ครับ
ประเด็นแรก
$\theta_2=180^\circ$ ไม่ได้ครับ

ประเด็นที่สอง
$|z_1+z_2+z_3|$ ไม่ได้มีค่าต่ำสุดที่ $1$ ครับ

ประเด็นที่สาม
อันนี้ผมเข้าใจแล้วว่า "ถ้า $z_1,z_2,z_3$ อยู่ในครึ่งวงกลม แล้ว $|z_1+z_2+z_3|>1$"
แต่ผมอยากเห็นการพิสูจน์ "ถ้า $|z_1+z_2+z_3|>1$ แล้ว $z_1,z_2,z_3$ อยู่ในครึ่งวงกลม" น่ะครับ

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Yuranan View Post
#20 ครับผมสังเกตจากมันน่าจะมีจุดต่ำสุดที่ x=-0.5 นะครับแต่เนื่องจากกราฟนี้มีความสมมาตรที่จุด x=-0.5 ดังนั้นเมื่อลองแทน x=0 และ x=1 ลงไป จะเห็นได้ว่ากราฟมีลัษณะคล้ายพาราโบลาหงายมีจุดต่ำสุดที่ x=-0.5 ครับ
ผมเข้าใจครับว่า กราฟนี้สมมาตรที่ $x=-0.5$

แต่ที่คุณ Yuranan ทำมาใน #18 นั้น ยังไม่ได้แสดงอะไรเลยว่ามันเป็นค่าต่ำสุดครับ

ส่วนที่ว่าคล้ายพาราโบลาไหม จากการแทนค่าแค่บางจุด น่าจะยังไม่เพียงพอในการสรุปนะครับ

23 มกราคม 2011 22:54 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Amankris
เหตุผล: แก้คำผิด
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #26  
Old 23 มกราคม 2011, 23:23
Yuranan Yuranan ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าหยก
 
วันที่สมัครสมาชิก: 05 ธันวาคม 2010
ข้อความ: 175
Yuranan is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Amankris View Post
ประเด็นแรก
$\theta_2=180^\circ$ ไม่ได้ครับ

ประเด็นที่สอง
$|z_1+z_2+z_3|$ ไม่ได้มีค่าต่ำสุดที่ $1$ ครับ

ประเด็นที่สาม
อันนี้ผมเข้าใจแล้วว่า "ถ้า $z_1,z_2,z_3$ อยู่ในครึ่งวงกลม แล้ว $|z_1+z_2+z_3|>1$"
แต่ผมอยากเห็นการพิสูจน์ "ถ้า $|z_1+z_2+z_3|>1$ แล้ว $z_1,z_2,z_3$ อยู่ในครึ่งวงกลม" น่ะครับ

ผมเข้าใจครับว่า กราฟนี้สมมาตรที่ $x=-0.5$

แต่ที่คุณ Yuranan ทำมาใน #18 นั้น ยังไม่ได้แสดงอะไรเลยว่ามันเป็นค่าต่ำสุดครับ

ส่วนที่ว่าคล้ายพาราโบลาไหม จากการแทนค่าแค่บางจุด น่าจะยังไม่เพียงพอในการสรุปนะครับ
ผมแค่แสดงตัวอย่างให้ดูในกรณีทั่วๆไปนะครับ และผมว่าข้อนี้ไม่เห็นจำเป็นต้องพิสูจน์ทั้งขาไปและกลับเลยนี่ครับ พิสูจน์แค่ทางเดียวก็น่าจะพอ

ส่วนอีกข้อครับก็ตอนแรกผมว่าผมได้แทนค่าที่จุด x=-0.5 แล้วนี่ครับ แล้วผมคิดว่าเราไปจำเป็นต้องแทนค่าทุกจุดเราแค่ดูแนวโน้มของกราฟว่าจะเป็นยังไงก็พอไม่ใช่เหรอครับ เช่นที่จุด x=0 จะได้ว่า $f(0)\approx2.71>f(-0.5)$ และ $f(1)\approx3.422>f(-0.5)$ โดยที่ $f(x)=\sqrt{x^2+x+19}-\sqrt{x^2+x+7}-\sqrt{x^2+x+1}$ หรืออาจใช้วิธีหาอนุพันธ์ก็ได้
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #27  
Old 23 มกราคม 2011, 23:48
Amankris's Avatar
Amankris Amankris ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,492
Amankris is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Yuranan View Post
ผมแค่แสดงตัวอย่างให้ดูในกรณีทั่วๆไปนะครับ และผมว่าข้อนี้ไม่เห็นจำเป็นต้องพิสูจน์ทั้งขาไปและกลับเลยนี่ครับ พิสูจน์แค่ทางเดียวก็น่าจะพอ
ตรงนี้เห็นด้วยครับ สำหรับกรณีรีบทำในสนามสอบแล้วเป็นแบบเติมคำ

ซึ่งเราสามารถคาดการณ์อะไรบางอย่างได้ แต่ว่าเราก็จะไม่มีทางทราบได้แน่นอนว่าที่เราเดาไปนั้นถูกจริงๆหรือไม่


โดยส่วนตัวแล้ว ผมก็อยากให้ช่วยกันแชร์ Solution จริงๆมากกว่าครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #28  
Old 24 มกราคม 2011, 01:02
Yuranan Yuranan ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าหยก
 
วันที่สมัครสมาชิก: 05 ธันวาคม 2010
ข้อความ: 175
Yuranan is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Amankris View Post
ตรงนี้เห็นด้วยครับ สำหรับกรณีรีบทำในสนามสอบแล้วเป็นแบบเติมคำ

ซึ่งเราสามารถคาดการณ์อะไรบางอย่างได้ แต่ว่าเราก็จะไม่มีทางทราบได้แน่นอนว่าที่เราเดาไปนั้นถูกจริงๆหรือไม่


โดยส่วนตัวแล้ว ผมก็อยากให้ช่วยกันแชร์ Solution จริงๆมากกว่าครับ
ครับ ผมเข้าใจคุณ Amankris ครับ ข้อ 32 นั้น ผมแค่อยากแสดงให้เห็นว่าสมการติดรูดนั้นไม่จำเป็นต้องแก้ด้วยการยกกำลังเสมอไป ดังเช่นในกรณีนี้ซึ่งผมใช้วิธีสังเกตเอา ถ้าจะให้ถูกต้องจริงๆคงต้องใช้การหาอนุพันธ์มาช่วยแล้วแหละครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #29  
Old 24 มกราคม 2011, 01:25
Amankris's Avatar
Amankris Amankris ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,492
Amankris is on a distinguished road
Default

จาก #14
อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Yuranan View Post
แสดงว่ารากสองรากนั้นจะอยู่ห่างกันได้ไม่เกิน 60 องศาดังนั้นความน่าจะเป็นคือ $\frac{1}{6}$ ครับ
หา $\dfrac{1}{6}$ อย่างไรครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #30  
Old 25 มกราคม 2011, 03:26
Amankris's Avatar
Amankris Amankris ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,492
Amankris is on a distinguished road
Default

ปกติข้อสุดท้ายน่าจะยากสุด เลยลองหยิบมาคิดดู ผิดคาดเลยแฮะ
อ้างอิง:
จงหาค่าของ $\displaystyle\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\ln(\sin x)dx$

หาแบบไม่จำกัดช่วงมาให้
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 16:03


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha