Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > พีชคณิต
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 08 สิงหาคม 2008, 15:46
วิหก's Avatar
วิหก วิหก ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 28 กรกฎาคม 2007
ข้อความ: 105
วิหก is on a distinguished road
Default รากที่ 3ครับ

จงหาค่าของ $\sqrt[\displaystyle{3}]{85+39\sqrt[\displaystyle{2}]{2}}$+$\sqrt[\displaystyle{3}]{85-39\sqrt[\displaystyle{2}]{2}}$
__________________
เหนือฟ้ายังมีฟ้า

08 สิงหาคม 2008 16:12 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ วิหก
เหตุผล: พิมม์ผิด
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 09 สิงหาคม 2008, 04:25
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

โจทย์เป็นแบบนี้เหรอครับ

$\sqrt[3]{85+39\sqrt{2}}+\sqrt[3]{85-39\sqrt{2}}$
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 09 สิงหาคม 2008, 21:19
วิหก's Avatar
วิหก วิหก ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 28 กรกฎาคม 2007
ข้อความ: 105
วิหก is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ nooonuii View Post
โจทย์เป็นแบบนี้เหรอครับ

$\sqrt[3]{85+39\sqrt{2}}+\sqrt[3]{85-39\sqrt{2}}$
ครับเป็นแบบนี้ Help me
__________________
เหนือฟ้ายังมีฟ้า
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 09 สิงหาคม 2008, 23:05
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

มันคือรากของพหุนามตัวนี้ครับ

$x^9-510x^6-26241x^3-4913000$

แต่หารากสวยๆไม่เจอ
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 09 สิงหาคม 2008, 23:06
หยินหยาง's Avatar
หยินหยาง หยินหยาง ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่จักรวาล
 
วันที่สมัครสมาชิก: 06 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,921
หยินหยาง is on a distinguished road
Default

ปกติโจทย์ลักษณะนี้ใ้ห้สมมุติว่าเท่ากับ A แล้วยกกำลังสาม จัดรูปแล้วจะได้คำตอบ ครับ แต่เท่าที่ดูข้อนี้ถ้าโจทย์ไม่ผิด ดูเหมือนจะไม่ง่ายครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 10 สิงหาคม 2008, 12:46
RoSe-JoKer's Avatar
RoSe-JoKer RoSe-JoKer ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤศจิกายน 2007
ข้อความ: 390
RoSe-JoKer is on a distinguished road
Default

เออ ลองใช้คาร์ดานแก้สมการนี้สิครับ
$t^3-3\sqrt[3]{4183}t-170=0$
ค่า $t$ คือคำตอบนะครับ
__________________
Rose_joker @Thailand
Serendipity
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 10 สิงหาคม 2008, 12:56
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ RoSe-JoKer View Post
เออ ลองใช้คาร์ดานแก้สมการนี้สิครับ
$t^3-3\sqrt[3]{4183}t-170=0$
ค่า $t$ คือคำตอบนะครับ
ในที่สุดก็คิดออกแล้วครับ

__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 10 สิงหาคม 2008, 16:50
God Phoenix's Avatar
God Phoenix God Phoenix ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 สิงหาคม 2008
ข้อความ: 109
God Phoenix is on a distinguished road
Default

คาร์ดานเป็นยังไงเหรอครับ
__________________
PHOENIX

NEVER

DIE

10 สิงหาคม 2008 16:50 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ God Phoenix
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #9  
Old 24 กันยายน 2008, 19:58
HaPPyBoy's Avatar
HaPPyBoy HaPPyBoy ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 06 มกราคม 2008
ข้อความ: 58
HaPPyBoy is on a distinguished road
Default

เหมือนไม่ตอบเลยแหะ คุณ nooonuii - -"
__________________
I'm Loser ...

24 กันยายน 2008 19:58 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ HaPPyBoy
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #10  
Old 24 กันยายน 2008, 20:24
square1zoa's Avatar
square1zoa square1zoa ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 17 สิงหาคม 2008
ข้อความ: 413
square1zoa is on a distinguished road
Default

ไอ้เจ้าคาร์ดาน คือ solving of cube equation (รึเปล่า) ที่คำตอบของสมการกำลังสามไม่เป็นจำนวนตรรกยะ ซึ่ง

ศึกษาได้จากหนังสือสอวน.พีชคณิต
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #11  
Old 24 กันยายน 2008, 20:50
Mathephobia's Avatar
Mathephobia Mathephobia ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 22 กันยายน 2008
ข้อความ: 42
Mathephobia is on a distinguished road
Default

ตัวเลขน่าเกลียดน่าดูเลยครับ
__________________
ผู้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ ผู้ที่ทำตนให้เล็กที่สุด
ผู้ที่เล็กที่สุดก็จะกลายเป็นผู้ที่ใหญ่ที่สุด
ผู้ที่มีเกียรติ คือ ผู้ที่ให้เกียรติผู้อื่น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #12  
Old 25 กันยายน 2008, 10:59
[SIL]'s Avatar
[SIL] [SIL] ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 กรกฎาคม 2008
ข้อความ: 1,520
[SIL] is on a distinguished road
Default

แล้วคาร์ดานพอเราหาคำตอบได้ทำไมต้องใส่ตัว $\varpi$ ด้วยครับ

25 กันยายน 2008 12:54 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ [SIL]
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #13  
Old 25 กันยายน 2008, 13:08
[SIL]'s Avatar
[SIL] [SIL] ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 กรกฎาคม 2008
ข้อความ: 1,520
[SIL] is on a distinguished road
Default

$\sqrt[3]{85+39\sqrt{2}} + \sqrt[3]{85-39\sqrt{2}} = x+\sqrt{y} \rightarrow (1)$
$\sqrt[3]{85+39\sqrt{2}} - \sqrt[3]{85-39\sqrt{2}} = x-\sqrt{y} \rightarrow (2)$
$\sqrt[3]{85^2-(39\sqrt{2})^2} = x^2-y \rightarrow (1)\times(2)$
$\sqrt[3]{7225-3042} = x^2-y$
$\sqrt[3]{4183} = x^2-y$ ที่ผมทำมันจะติดตรงนี้ครับซึ่งไปต่อไม่ได้รากที่ 3 มันเป็น อตรรกยะ

25 กันยายน 2008 13:09 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ [SIL]
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #14  
Old 25 กันยายน 2008, 13:23
[SIL]'s Avatar
[SIL] [SIL] ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 กรกฎาคม 2008
ข้อความ: 1,520
[SIL] is on a distinguished road
Default

เดี๋ยวลองวิธีไม่ตัวเลขดูนะครับ
$\sqrt[3]{n+m\sqrt{k}} = x+\sqrt{y} \rightarrow (1)$
$\sqrt[3]{n-m\sqrt{k}} = x-\sqrt{y} \rightarrow (2)$
$\sqrt[3]{n^2-m^2k} = x^2-y \rightarrow (1)\times(2) \rightharpoonup (3)$
$n-m\sqrt{k} = x^3-3x^2\sqrt{y}+3xy-y\sqrt{y} \rightarrow (2)^3 $

เทียบสัมประสิทธิ์ จาก (2)^3
$x^3+3xy = n \rightarrow (4)$

จาก (3)
$y = x^2 - \sqrt[3]{n^2-m^2k}$ [ท่านใดคิดต่อจากนี้ได้โปรดช่วยด้วยครับ คิดออกมาให้ทฤษฎีบทออกมาสวยๆละกัน ^^]

แทนค่ากลับใน (4) จะได้
$x^3+3x(x^2 - \sqrt[3]{n^2-m^2k}) = n$
แทนค่า m ,n ,k ลงไปจะได้ค่า x แทนค่ากลับใน (3) จะได้ ค่า y
แล้วนำมาแทนใน $x-\sqrt{y}$ จะเป็นรากที่ 3 ของคำตอบข้อนี้ครับ

ท่านใดมีความสามารถก็ลองคิดต่อจากบรรทัดนี้นะครับ

25 กันยายน 2008 13:28 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 3 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ [SIL]
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 20:27


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha