Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > Calculus and Analysis
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 07 ธันวาคม 2013, 10:01
B บ ....'s Avatar
B บ .... B บ .... ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 ตุลาคม 2008
ข้อความ: 251
B บ .... is on a distinguished road
Default lim n/ln(n+1)!

The following limit converge or diverge
$$\lim_{x \rightarrow \infty} \frac{x}{\ln(1+x)!}$$
ช่วย hint หน่อยครับ มันลู่เข้ารึออก
__________________
เรื่อยๆ เฉื่อยๆ

07 ธันวาคม 2013 10:05 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ B บ ....
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 07 ธันวาคม 2013, 11:12
gools's Avatar
gools gools ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 26 เมษายน 2004
ข้อความ: 390
gools is on a distinguished road
Default

ถ้า $x \geq 4$ แล้ว $\ln (x/2) \geq \frac{1}{2}\ln (x)$ นอกจากนั้น $\ln (y) \geq \frac{1}{2}\ln (x)$ ทุกๆ $y\geq x/2$ ดังนั้นตัวข้างล่างจะมีค่ามากกว่า $\frac{x}{2}\ln(x)$

เป็นวิธีคิดแบบคร่าวๆนะครับ

07 ธันวาคม 2013 15:11 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ gools
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 07 ธันวาคม 2013, 14:33
passer-by passer-by ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 เมษายน 2005
ข้อความ: 1,442
passer-by is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ B บ .... View Post
The following limit converge or diverge
$$\lim_{x \rightarrow \infty} \frac{x}{\ln(1+x)!}$$
ช่วย hint หน่อยครับ มันลู่เข้ารึออก
x ในที่นี้ คือ n ใช่มั้ยครับ

ถ้าใช่ ใช้ข้อเท็จจริงที่ว่า $ \int_1^{n+1} \ln x \,\, dx \leq \sum_{i=2}^{n+1} \ln i $ (เช็คจากพื้นที่ใต้กราฟได้ครับ)

ดังนั้น $ \frac{1}{n} \cdot \sum_{i=2}^{n+1} \ln i \geq \frac{1}{n} \cdot \int_1^{n+1} \ln x \,\, dx \Rightarrow LHS \geq \frac{(n+1)\ln(n+1)- (n+1)}{n}$

สรุปได้ว่า $$ 0 < \frac{n}{\ln(n+1)!} \leq \frac{n}{(n+1)\ln(n+1)- (n+1)}$$

ขวาสุด take limit ได้เข้าใกล้ 0 ครับ และใช้ squeezing theorem บีบตรงกลาง converge สู่ 0
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 08 ธันวาคม 2013, 10:30
B บ ....'s Avatar
B บ .... B บ .... ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 ตุลาคม 2008
ข้อความ: 251
B บ .... is on a distinguished road
Default

ขอบคุณมากครับ ^^
มีอีกข้อนึง คือ มันไม่เชิงติด แต่ก็ไม่รู้จะทำยังไงดี
Let $f$ be a continuous function on $[0,1]$ $$f(\frac{m}{2^n})=0 \ \mbox{for all}\ m,n \in \mathbb{N} \ \mbox{and} 0 \leq m \leq 2^n.$$ Prove that $f(x) = 0 $ on $[0,1].$
พิสูจน์ สำหรับแต่ละ $x \in [0,1]$ ให้ $\epsilon \in \mathbb{R}^+$ จากความต่อเนื่องของ $f$ บน [0,1] ถ้าแต่ละ $\delta > 0$ มี $m,n \in \mathbb{N}$ ซึ่ง $\frac{m}{2^n} \in (x-\delta,x+\delta)$ แล้วจะได้ว่า $|f(x)| < \epsilon$
แต่ไม่รู้จะแสดงยังไงตรง มี $m,n \in \mathbb{N}$ ซึ่ง $\frac{m}{2^n} \in (x-\delta,x+\delta)$ ทุก $\delta > 0$ จริงๆเหมือนเงื่อนไข ทุก$\delta >0$ มันแรงไป แต่โดยความต่อเนื่องไม่รู้ว่า แต่ละ $\delta_0$ ที่คู่ $\epsilon_0$ มันใหญ่ขนาดไหน เฮ้อ งงครับ
__________________
เรื่อยๆ เฉื่อยๆ

08 ธันวาคม 2013 10:36 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 5 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ B บ ....
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 08 ธันวาคม 2013, 12:16
gools's Avatar
gools gools ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 26 เมษายน 2004
ข้อความ: 390
gools is on a distinguished road
Default

สังเกตว่าทุกๆ $n\in \mathbb{Z}^+$, $x\in [\frac{m}{2^n},\frac{m+1}{2^n}]$ สำหรับบางจำนวน $m$ ครับ

08 ธันวาคม 2013 12:19 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ gools
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 02:28


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha