Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > Calculus and Analysis
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #31  
Old 12 กันยายน 2006, 21:15
gon's Avatar
gon gon ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎขั้นสูง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 มีนาคม 2001
ข้อความ: 4,608
gon is on a distinguished road
Smile

ก็ดูอยู่ครับ ยังมีอะไรอีกล่ะ?
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #32  
Old 12 กันยายน 2006, 22:19
สิริกานต์ สิริกานต์ ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 09 มีนาคม 2006
ข้อความ: 53
สิริกานต์ is on a distinguished road
Post

อยากให้พี่ดู ของ คุณnooonuii ในการพิสูจน์ ในกระทู้นี้หน่อยว่าถูกมั้ย คือ ที่พี่เค้าทำอะค่ะ
มันเป็นช่วง x0 ซึ่งตอนแรกก็กำหนดแล้วว่า x เป็นบวกเล็กๆ ดังนั้นช่วงที่ถูกก็คือ
x>0 แล้วการพิสูจน์ของพี่เค้า สมมติฟังก์ชันได้หรือค่ะ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #33  
Old 12 กันยายน 2006, 22:31
gon's Avatar
gon gon ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎขั้นสูง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 มีนาคม 2001
ข้อความ: 4,608
gon is on a distinguished road
Red face

อืม... ยังไงคุยกับ nooonuii โดยตรงไม่ดีกว่าหรือครับ... ถ้าสงสัยหรือติดขัดกันตรงไหน noonuii ก็คงเข้ามาดูอยู่เรื่อย ๆ อยู่แล้ว แต่ตอนนี้อาจจะไม่ได้ตอบมากเท่าไร

อีกอย่างข้อเสียของพี่คือไม่ชอบทำความเข้าใจกับวิธีการคิดของคนอื่นสักเท่าไร (ถ้าไม่จำเป็นจริงๆ) ถ้า nooonuii ไม่แวะเข้ามาตอบยังไงค่อยว่ากันอีกทีครับ.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #34  
Old 13 กันยายน 2006, 10:19
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Post

อ้างอิง:
ข้อความเดิมของคุณ สิริกานต์:
อยากให้พี่ดู ของ คุณnooonuii ในการพิสูจน์ ในกระทู้นี้หน่อยว่าถูกมั้ย คือ ที่พี่เค้าทำอะค่ะ
มันเป็นช่วง x0 ซึ่งตอนแรกก็กำหนดแล้วว่า x เป็นบวกเล็กๆ ดังนั้นช่วงที่ถูกก็คือ
x>0 แล้วการพิสูจน์ของพี่เค้า สมมติฟังก์ชันได้หรือค่ะ
การพิสูจน์สำหรับ x>0 ก็ทำแบบเดียวกันครับ ลองเอาไปคิดเป็นการบ้านดูนะครับ
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #35  
Old 21 ตุลาคม 2006, 10:20
สิริกานต์ สิริกานต์ ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 09 มีนาคม 2006
ข้อความ: 53
สิริกานต์ is on a distinguished road
Post

พีกรสวัสดีค่ะ สบายดีมั้ยค่ะ พี่ พอจะมีวิธีแสดง cosx <1 สำหรับ x เป็นจำนวนบวกเล็กมั้ยค่ะ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #36  
Old 21 ตุลาคม 2006, 10:23
สิริกานต์ สิริกานต์ ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 09 มีนาคม 2006
ข้อความ: 53
สิริกานต์ is on a distinguished road
Post

พอดีว่าอยากได้ หลายๆวิธีค่ะ อาจารย์ว่ายังน้อยไป รบกวนหน่อยนะค่ะ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #37  
Old 22 ตุลาคม 2006, 18:18
gon's Avatar
gon gon ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎขั้นสูง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 มีนาคม 2001
ข้อความ: 4,608
gon is on a distinguished road
Question

ไม่เข้าใจว่า มีอะไรต้องแสดงหรือครับ ในเมื่อ cosine เป็นฟังก์ชันจาก $\theta$ ไปยัง x เมื่อ x เป็นสมาชิกของคู่อันดับ (x, y) ซึ่งอยู่บนวงกลมหนึ่งหน่วย ดังนั้นตามนิยาม จะได้ว่า $\cos x \le 1$ และ เมื่อ $x \ne 2n\pi$ ก็ชัดเจนว่า $\cos x < 1$

หรือนิยามเป็นแบบอื่นครับ.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #38  
Old 31 ตุลาคม 2006, 08:57
สิริกานต์ สิริกานต์ ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 09 มีนาคม 2006
ข้อความ: 53
สิริกานต์ is on a distinguished road
Post

อยากให้พี่ กร พิสูจน์หน่อยค่ะ sinx > x/(1+x^2)^1/2 และ cosx > 1-x^2 (สำหรับcosxนี้พี่ได้พิสูจน์ไว้แล้วแต่มีวิธีอื่นอีกมั้ยค่ะ) ขอบคุณค่ะ สบายดีนะค่ะ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #39  
Old 01 พฤศจิกายน 2006, 16:22
สิริกานต์ สิริกานต์ ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 09 มีนาคม 2006
ข้อความ: 53
สิริกานต์ is on a distinguished road
Post

แงะ ยังไม่มีใครตอบเลยอ่าค่ะ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #40  
Old 06 พฤศจิกายน 2006, 14:59
สิริกานต์ สิริกานต์ ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 09 มีนาคม 2006
ข้อความ: 53
สิริกานต์ is on a distinguished road
Post

พี่กร ช่วยพิสูจน์ sinx > x/(1+x^2)^1/2 ให้หน่อยสิค่ะ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #41  
Old 06 พฤศจิกายน 2006, 19:00
passer-by passer-by ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 เมษายน 2005
ข้อความ: 1,442
passer-by is on a distinguished road
Post

ผมว่า $ \sin x > \frac{x}{\sqrt{1+x^2}} $ มีโอกาสเป็นเท็จนะครับ

เพราะเราอาจจะเลือก x > 0 ที่ทำให้ sin(x) < 0 ได้ ซึ่งจะทำให้ ซ้ายมือของอสมการเป็นลบ แต่ขวามือของ อสมการเป็นบวก
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #42  
Old 06 พฤศจิกายน 2006, 19:50
สิริกานต์ สิริกานต์ ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 09 มีนาคม 2006
ข้อความ: 53
สิริกานต์ is on a distinguished road
Post

ที่จะให้พิสูจน์ คือว่า ค่า x เป็นค่าบวกเล็กๆนะค่ะ ลืมบอกไป คราวนี้ช่วยพิสูจน์หน่อยค่ะ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #43  
Old 08 พฤศจิกายน 2006, 13:24
gon's Avatar
gon gon ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎขั้นสูง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 มีนาคม 2001
ข้อความ: 4,608
gon is on a distinguished road
Smile

โดยอนุกรมเทเลอร์ $\sin x = \Sigma_{n = 0}^{\infty}(-1)^{n-1} \frac{x^{2n-1}}{(2n-1)!} = x - \frac{x^3}{3!} + \frac{x^5}{5!} - \cdots$
ให้สังเกตว่าการประมาณโดยอนุกรมเทเลอร์เมื่อ x > 0 จะเป็นลักษณะ overestimate สลับกับ underestimate กล่าวคือ
$sin x < x , sin x > x - \frac{x^3}{6}$ (ซึ่งเราเคยพิสูจน์โดยใช้ตรีโกณไปแล้ว) , $sin x < x - \frac{x^3}{6} + \frac{x^5}{120} , ...$

ทำนองเดียวกันกับ $\frac{1}{\sqrt{1 + x^2}} = (1 + x^2)^{-\frac{1}{2}}$ โดยทฤษฎีบททวินาม เมื่อ $|x^2| < 1$ จะได้ว่าอนุกรมอนันต์ลู่เข้า โดย
$(1 + x^2)^{-\frac{1}{2}} = \Sigma_{n = 0}^{\infty} {c \choose n}x^n = 1 + (-\frac{1}{2})x^2 + \frac{(-\frac{1}{2})(-\frac{1}{2} -1)(x^2)^2}{2!} + \cdots = 1 - \frac{x^2}{2} + \frac{3}{8}x^4 - \cdots$

จะเห็นว่าเมื่อ 0 < x < 1 จะเป็นการประมาณแบบ overestimate สลับกับ underestimate กล่าวคือ $\frac{1}{\sqrt{1+x^2}} < 1 , \frac{1}{\sqrt{1+x^2}} > 1 - \frac{x^2}{2} , \frac{1}{\sqrt{1+x^2}} < 1 - \frac{x^2}{2} + \frac{3x^4}{8}$

เพราะว่า $\sin x > x - \frac{x^3}{6} \quad \cdots (1)$
และ $\frac{x}{\sqrt{1 + x^2}} < x - \frac{x^3}{2} + \frac{3x^5}{8} \quad \cdots (2)$

เป็นการเพียงพอที่จะแสดงให้ได้ว่า $x - \frac{x^3}{6} > x - \frac{x^3}{2} + \frac{3x^5}{8} \cdots$ ก็ต่อเมื่อ $x^2 < \frac{8}{9}$ ซึ่งเป็นจริงเพราะเมื่อ x เป็นบวกเล็กๆ ชัดเจนว่า $x^2 < \frac{8}{9}$

ดังนั้น จึงได้ว่า $\sin x > \frac{x}{\sqrt{1+x^2}}$ ตามต้องการ

Note : ถ้ามีข้อสงสัยที่คิดว่าผิดพลาดตรงไหน ขอให้ใช้ความพยายามให้มากถึงที่สุดก่อนตั้งคำถามต่อนะครับ ไม่ว่าจะเป็นการหาเนื้อหาอ่านประกอบส่วนที่อาจจะไม่เข้าใจหรือส่วนที่คิดว่าไม่ถูกต้อง เพราะตอนนี้พี่อยู่ในภาวะวุ่นมาก ๆ วุ่นกว่าเจ้าหญิงวุ่นวายเจ้าชายติ๊งต๊องอะไรนั่นอีก เดือนก่อนพี่รับปากคนอื่นทำงานบางอย่างเพิ่มอีก ดังนั้นตอนนี้พี่คงต้องจัดระดับความสำคัญของเรื่องคนอื่นไว้ระดับต่ำสุดก่อน ไม่งั้นงานอื่นเละแน่
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #44  
Old 08 พฤศจิกายน 2006, 18:45
mayalone mayalone ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 05 กรกฎาคม 2006
ข้อความ: 40
mayalone is on a distinguished road
Post

ขอบคุณค่ะ ที่สละเวลามาดูให้นะค่ะ เอ่อ แล้ว cosx>1-x^2 ช่วยดูให้อีกทีนะค่ะ ขอบคุณค่ะ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #45  
Old 31 มกราคม 2007, 12:47
สิริกานต์ สิริกานต์ ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 09 มีนาคม 2006
ข้อความ: 53
สิริกานต์ is on a distinguished road
Post

อยากถามพี่กรค่ะว่า ข้อความที่ ''จะเห็นว่าเมื่อ 0 < x < 1 จะเป็นการประมาณแบบ overestimate สลับกับ underestimate'' มันคิดอย่างไรค่ะ ที่มันมีเครื่องหมาย มากกว่าน้อยกว่าสลับกันหนะค่ะ มีวิธีพิสูจน์มั้ย ถ้าใช้กราฟก็จะเป็นจริงค่ะ แต่ถ้าพิสูจน์โดยตรงจะทำอย่างไรค่ะ มันได้โพสนานเลยพี่กรสบายดีนะค่ะ ช่วยตอบด้วยค่ะ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 00:05


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha