Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 02 สิงหาคม 2010, 21:49
Suwiwat B's Avatar
Suwiwat B Suwiwat B ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 30 พฤษภาคม 2008
ข้อความ: 569
Suwiwat B is on a distinguished road
Default โจทย์กลางภาคมาเเล้ว !!!!!

$A,B,C \in R$ $A,B,C \in (0, \frac{\pi}{2} ) A+B+C = \frac{\pi}{2}$
$cos2A = \frac{cos2B - \frac{3}{5} }{1-\frac{3}{5} cos2B }$
และ $tanB = sinAsinCcsc(A+C)$
จงหา $1. cotA : cotB : cotC$
$2. cotA + cotB + cotC$
$3. sin^2 (2A + B + 2C)$
สนุกดี ... ขอวิธีทำดีๆด้วยนะครับ
__________________
ต้องสู้ถึงจะชนะ

CCC Mathematic Fighting

เครียด เลย

02 สิงหาคม 2010 21:49 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Suwiwat B
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 03 สิงหาคม 2010, 00:08
★★★☆☆ ★★★☆☆ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไว
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 247
★★★☆☆ is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Suwiwat B View Post
$A,B,C \in R$ $A,B,C \in (0, \frac{\pi}{2} ) A+B+C = \frac{\pi}{2}$
$cos2A = \frac{cos2B - \frac{3}{5} }{1-\frac{3}{5} cos2B }$
และ $tanB = sinAsinCcsc(A+C)$
จงหา $1. cotA : cotB : cotC$
$2. cotA + cotB + cotC$
$3. sin^2 (2A + B + 2C)$
สนุกดี ... ขอวิธีทำดีๆด้วยนะครับ
จากสมการ $cos2A = \frac{cos2B - \frac{3}{5} }{1-\frac{3}{5} cos2B }$

แทนสูตร $cos 2A = (1- tan^2A)(1+tan^2A) , cos 2B = (1-...$

จากนั้นจัดรูป จะได้ั tan A / tan B = 2

ดังนั้น cot B = 2cot A ...(1)

จากสมการ $tanB = \frac{sinAsinC}{sin(A+C)}$ แต่ A + C = $\pi/2 - B$

จะได้ $tan B = \frac{sinAsinC}{cos B}$

ดังนั้น sin B = sin A sin C

แต่ B = $\pi/2$ - (A + C)

ดังนั้น sin B = cos(A + C) = cos A cos C - sin A sin C

sin A sin C = cos A cos C - sin A sin C

cot A cot C = 2

cot C = 2/cot A ... (2)

จาก B + C = $\pi/2 - A$

ดังนั้น tan(B + C) = cot A

$\frac{cot B + cot C}{cot B cot C - 1} = cot A$

แทนค่าจากสมการ (1), (2) แก้สมการจะได้ cot A = $\sqrt{2}$

ดังนั้น cot B = $2\sqrt{2}$ , cot C = $\sqrt{2}$

ค่าต่าง ๆ ในตัวเลือกก็หาำได้ไม่ยากครับ.

(ข้อ 3. $sin^2(2A + B + 2C) = sin^22B = 1/(1+cot^22B) = ...$

03 สิงหาคม 2010 00:10 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ ★★★☆☆
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 03 สิงหาคม 2010, 15:14
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

ช่วยดูหน่อยครับว่า
$cos2A=\dfrac{1-tan^2A}{1+tan^2A} $....หรือผมจำผิดครับ

$A+B+C=\frac{\pi }{2} \rightarrow 2A+2B+2C=\pi \rightarrow 2A+B+2C=\pi-B$

$sin^2(2A+B+2C)=sin^2(\pi-B) =sin^2B$....ตรงนี้ผมกำลังงงหรือเปล่าครับ

ผมกำลังง่วนหาคำตอบอยู่...หัวหมุนอยู่ มึนครับมึน
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)

03 สิงหาคม 2010 15:19 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ กิตติ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 03 สิงหาคม 2010, 15:46
PoSh PoSh ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 20 ธันวาคม 2008
ข้อความ: 114
PoSh is on a distinguished road
Default

$cos2A = \frac{1-tan^2A}{1+tan^2A} $ นิครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 03 สิงหาคม 2010, 16:32
PoSh PoSh ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 20 ธันวาคม 2008
ข้อความ: 114
PoSh is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ ★★★☆☆ View Post
จากสมการ $cos2A = \frac{cos2B - \frac{3}{5} }{1-\frac{3}{5} cos2B }$

แทนสูตร $cos 2A = (1- tan^2A)(1+tan^2A) , cos 2B = (1-...$

จากนั้นจัดรูป จะได้ั tan A / tan B = 2

ดังนั้น cot B = 2cot A ...(1)

จากสมการ $tanB = \frac{sinAsinC}{sin(A+C)}$ แต่ A + C = $\pi/2 - B$

จะได้ $tan B = \frac{sinAsinC}{cos B}$

ดังนั้น sin B = sin A sin C

แต่ B = $\pi/2$ - (A + C)

ดังนั้น sin B = cos(A + C) = cos A cos C - sin A sin C

sin A sin C = cos A cos C - sin A sin C

cot A cot C = 2

cot C = 2/cot A ... (2)

จาก B + C = $\pi/2 - A$

ดังนั้น tan(B + C) = cot A

$\frac{cot B + cot C}{cot B cot C - 1} = cot A$


แทนค่าจากสมการ (1), (2) แก้สมการจะได้ cot A = $\sqrt{2}$

ดังนั้น cot B = $2\sqrt{2}$ , cot C = $\sqrt{2}$

ค่าต่าง ๆ ในตัวเลือกก็หาำได้ไม่ยากครับ.

(ข้อ 3. $sin^2(2A + B + 2C) = sin^22B = 1/(1+cot^22B) = ...$
ยังไงเหรอครับผมงงๆ อ่ะครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 03 สิงหาคม 2010, 16:36
PoSh PoSh ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 20 ธันวาคม 2008
ข้อความ: 114
PoSh is on a distinguished road
Default

อ่อๆได้แล้วครัยต้องขอโทษด้วยยย
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 03 สิงหาคม 2010, 16:47
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

จากเอกลักษณ์ที่คุณสามดาวแนะไว้ให้ $cos2A=\dfrac{1-tan^2A}{1+tan^2A} $

$cotA=cot(\dfrac{\pi }{2} -(B+C)) = tan(B+C) =\dfrac{tanB+ tanC}{1-tanB\cdot tanC} =\dfrac{cotB+cotC}{cotB.cotC-1} $

จะได้$tanA=2tanB \rightarrow cotA=\dfrac{cotB}{2} $ และ $cotA.cotC=2$
จะได้ว่า$cotB.cotC=4$ แทนค่าได้$cotA=\dfrac{cotB+cotC}{3} \rightarrow cotB=2cotC $
ได้ค่า$cotA=\sqrt{2} =cotC , cotB=2\sqrt{2}$

$cotA:cotB:cotC= 1:2:1$
$cotA+cotB+cotC=4\sqrt{2}$
$sin^2(2A+B+2C)=sin^2(\pi-B) =sin^2B$
$cos2B=1-2sin^2B=\dfrac{1-tan^2B}{1+tan^2B}=\dfrac{cot^2B-1}{cot^2B+1} $
$1-2sin^2B=\dfrac{7}{9} \rightarrow sin^2B=\dfrac{1}{9} $
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)

03 สิงหาคม 2010 17:06 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 6 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ กิตติ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 03 สิงหาคม 2010, 18:00
★★★☆☆ ★★★☆☆ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไว
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 247
★★★☆☆ is on a distinguished road
Default

สูตรผมพิมพ์ตกเองครับ แต่ถ้าคนที่รู้สูตรดูก็รู้แล้วว่าพิมพ์ตก , ข้อย่อย 3 ผมก็คงเพี้ยนเองครับ

ส่วนวิธีแปลง tan เป็น cot ดูง่าย ๆ จาก $\tan(B + C) = \frac{\tan B + \tan C}{1- \tan B \tan C}$

ก็ให้นำ cot B cot C คูณเข้าไปในใจทั้งเศษและส่วน ก็จะได้สูตรของ cot ทันทีครับ.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #9  
Old 04 สิงหาคม 2010, 09:53
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

ผมแก้ข้อนี้ได้ก็ด้วยเอกลักษณ์ที่คุณสามดาวแนะให้แหละครับ ลืมไปแล้วเหมือนกัน แค่แนะให้ก็ถือว่าชี้ทางให้เยอะแล้วครับ เหลือแต่เปิดประตูเอง จริงไหมครับ
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #10  
Old 04 สิงหาคม 2010, 22:16
กระบี่เดียวดายแสวงพ่าย's Avatar
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 21 กุมภาพันธ์ 2009
ข้อความ: 647
กระบี่เดียวดายแสวงพ่าย is on a distinguished road
Default

ผมไม่แน่ใจว่าผมเริ่มผิดตรงไหนครับ
$cos2A = \frac{cos2B - \frac{3}{5} }{1-\frac{3}{5} cos2B }$
$\frac{1-tan^2A}{1+tan^2A} = \frac{5cos2B - 3 }{5-3cos2B }$
$(1-tan^2A)(5-3cos2B)=(5cos2B-3)(1+tan^2A)$
$5-3cos2B-5tan^2A+3cos2Btan^2A=5cos2B+5cos2Btan^2A-3-3tan^2A)$
$8-8cos2B-2tan^2A-2cos2Btan^2A=0$
แล้วแยกตัวประกอบไม่ออกครับ

04 สิงหาคม 2010 22:16 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ กระบี่เดียวดายแสวงพ่าย
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #11  
Old 05 สิงหาคม 2010, 09:59
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

แทน$cos2B=\dfrac{1-tan^2B}{1+tan^2B} $ ด้วย

จะได้$tanA= 2tanB \rightarrow cotB=2cotA$

$cotC=\dfrac{2}{cotA} $

$cotA=\dfrac{cotB+cotC}{cotBcotC-1} $

แก้ได้ค่าตามที่คุณสามดาวเฉลยให้ครับ
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)

05 สิงหาคม 2010 10:00 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 3 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ กิตติ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #12  
Old 05 สิงหาคม 2010, 10:17
banker banker ไม่อยู่ในระบบ
เทพเซียน
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 มกราคม 2002
ข้อความ: 9,910
banker is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ กิตติ View Post

แก้ได้ค่าตามที่คุณสามดาวเฉลยให้ครับ

ของเขาห้าดาว ★★★☆☆

คุณกิตติไปลดดาวเขาได้ไง
__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน
แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว
เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว

ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก


รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ
(ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี)
(แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #13  
Old 05 สิงหาคม 2010, 11:32
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

ผมนับเฉพาะดาวที่ระบายสีแล้วครับ...ไม่ได้นับทั้งหมด
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #14  
Old 05 สิงหาคม 2010, 13:20
banker banker ไม่อยู่ในระบบ
เทพเซียน
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 มกราคม 2002
ข้อความ: 9,910
banker is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ กิตติ View Post
ผมนับเฉพาะดาวที่ระบายสีแล้วครับ...ไม่ได้นับทั้งหมด
สองดาวนั้นเขาก็ระบายสีขาว ไม่นับหรือครับ
__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน
แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว
เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว

ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก


รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ
(ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี)
(แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #15  
Old 05 สิงหาคม 2010, 16:31
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

ยอมครับป๋า....เป็นห้าดาว
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 15:45


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha