Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 20 กรกฎาคม 2013, 12:48
มือใหม่หัดแก้โจทย์'s Avatar
มือใหม่หัดแก้โจทย์ มือใหม่หัดแก้โจทย์ ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 07 มิถุนายน 2009
ข้อความ: 72
มือใหม่หัดแก้โจทย์ is on a distinguished road
Default เกี่ยวกับการหารลงตัว

ถ้า $(n−10)|(n^5−1000)$จงหาค่าของ $n$ ที่มากที่สุดที่สอดคล้องกับเงื่อนไข
__________________
MWITS!!!!

20 กรกฎาคม 2013 12:49 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ มือใหม่หัดแก้โจทย์
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 20 กรกฎาคม 2013, 15:24
gon's Avatar
gon gon ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎขั้นสูง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 มีนาคม 2001
ข้อความ: 4,608
gon is on a distinguished road
Lightbulb

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ มือใหม่หัดแก้โจทย์ View Post
ถ้า $(n−10)|(n^5−1000)$จงหาค่าของ $n$ ที่มากที่สุดที่สอดคล้องกับเงื่อนไข
การจะตอบข้อนี้ได้ อย่างแรกต้องตอบให้ได้ว่า

เศษจากการหาร $n^5-1000$ ด้วย $n-10$ จะมีค่าเท่ากับเท่าไรครับ.


20 กรกฎาคม 2013 15:28 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ gon
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 20 กรกฎาคม 2013, 15:55
มือใหม่หัดแก้โจทย์'s Avatar
มือใหม่หัดแก้โจทย์ มือใหม่หัดแก้โจทย์ ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 07 มิถุนายน 2009
ข้อความ: 72
มือใหม่หัดแก้โจทย์ is on a distinguished road
Default

ตอบ $99010$ รึเปล่าคะ???
__________________
MWITS!!!!
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 20 กรกฎาคม 2013, 15:56
~ArT_Ty~'s Avatar
~ArT_Ty~ ~ArT_Ty~ ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 03 กรกฎาคม 2010
ข้อความ: 1,081
~ArT_Ty~ is on a distinguished road
Default

ลองแสดงวิธีคิดให้ดูหน่อยครับ จะได้ดูว่าถูกหรือผิด และจะได้เข้าใจโจทย์จริงๆ
__________________
...สีชมพูจะไม่จางด้วยเหงื่อ แต่จะจางด้วยนํ้าลาย...
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 20 กรกฎาคม 2013, 16:04
มือใหม่หัดแก้โจทย์'s Avatar
มือใหม่หัดแก้โจทย์ มือใหม่หัดแก้โจทย์ ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 07 มิถุนายน 2009
ข้อความ: 72
มือใหม่หัดแก้โจทย์ is on a distinguished road
Default

จากทฤษฎีบทเศษเหลือ ที่กล่าวว่าถ้าหารพหุนาม $P(x)$ ด้วย $x-c$ แล้ว เศษเหลือจะเท่ากับ $P(c)$
จากโจทย์จะได้ว่าเศษเหลือจากการหาร $n^5-1000$ ด้วย $n-10$ เท่ากับ
$(10)^5-1000 = 100000-1000 = 99000$ จากโจทย์กล่าวว่า $n-10|n^5-1000$
แสดงว่า $n-10|99000$ และการหารค่า $n$ ที่มากที่สุด ก็ต้องมาจากตัวประกอบที่มากที่สุด
ของ $99000$ ก็คือตัวมันเองก็คือ $n-10=99000$
เพราะฉะนั้น $n = 99010$
โปรดชี้แนะด้วยนะคะ@o@/
__________________
MWITS!!!!

20 กรกฎาคม 2013 16:04 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ มือใหม่หัดแก้โจทย์
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 20 กรกฎาคม 2013, 22:20
artty60 artty60 ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 1,036
artty60 is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ มือใหม่หัดแก้โจทย์ View Post
จากทฤษฎีบทเศษเหลือ ที่กล่าวว่าถ้าหารพหุนาม $P(x)$ ด้วย $x-c$ แล้ว เศษเหลือจะเท่ากับ $P(c)$
จากโจทย์จะได้ว่าเศษเหลือจากการหาร $n^5-1000$ ด้วย $n-10$ เท่ากับ
$(10)^5-1000 = 100000-1000 = 99000$ จากโจทย์กล่าวว่า $n-10|n^5-1000$
แสดงว่า $n-10|99000$ และการหารค่า $n$ ที่มากที่สุด ก็ต้องมาจากตัวประกอบที่มากที่สุด
ของ $99000$ ก็คือตัวมันเองก็คือ $n-10=99000$
เพราะฉะนั้น $n = 99010$
โปรดชี้แนะด้วยนะคะ@o@/
เยี่ยมครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 21 กรกฎาคม 2013, 11:59
มือใหม่หัดแก้โจทย์'s Avatar
มือใหม่หัดแก้โจทย์ มือใหม่หัดแก้โจทย์ ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 07 มิถุนายน 2009
ข้อความ: 72
มือใหม่หัดแก้โจทย์ is on a distinguished road
Default

ขอบคุณทุกคนมากๆเลยค่ะ>/\<
__________________
MWITS!!!!
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 23:40


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha