Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > พีชคณิต
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #16  
Old 21 สิงหาคม 2011, 16:14
gon's Avatar
gon gon ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎขั้นสูง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 มีนาคม 2001
ข้อความ: 4,608
gon is on a distinguished road
Icon21

ข้อ 3 กับ ข้อ 5. ยังตอบไม่ถูกนะครับ.

6. $\sin (\frac{11\pi}{8} \cos A) = \frac{1}{\sqrt{2}}$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #17  
Old 21 สิงหาคม 2011, 17:12
No.Name No.Name ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 20 เมษายน 2011
ข้อความ: 323
No.Name is on a distinguished road
Icon20

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ gon View Post
ข้อ 3 กับ ข้อ 5. ยังตอบไม่ถูกนะครับ.

6. $\sin (\frac{11\pi}{8} \cos A) = \frac{1}{\sqrt{2}}$
ขอบคุณครับที่ช่วยเช็คแก้ไขแล้วถูกหรือยังครับ

ส่วนข้อนี้โจทย์ใช่ $\sin (\frac{11\pi}{8}) \cos A = \frac{1}{\sqrt{2}}$
__________________
no pain no gain
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #18  
Old 22 สิงหาคม 2011, 00:08
gon's Avatar
gon gon ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎขั้นสูง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 มีนาคม 2001
ข้อความ: 4,608
gon is on a distinguished road
Thumbs up

ตอบถูกหมดแล้วครับ. ข้อ 6 โจทย์สมบูรณ์ดีครับ.

7. พิจารณาสมการ $\sin \pi A - \cos \pi A = 0$
ก. จงแก้สมการเพื่อหาค่า $A$
ข. จงหาค่า $A$ ที่สอดคล้องกับอสมการ $|2A| < 1$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #19  
Old 22 สิงหาคม 2011, 19:13
No.Name No.Name ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 20 เมษายน 2011
ข้อความ: 323
No.Name is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ gon View Post
ตอบถูกหมดแล้วครับ. ข้อ 6 โจทย์สมบูรณ์ดีครับ.

7. พิจารณาสมการ $\sin \pi A - \cos \pi A = 0$
ก. จงแก้สมการเพื่อหาค่า $A$
ข. จงหาค่า $A$ ที่สอดคล้องกับอสมการ $|2A| < 1$
ข้อ ก.

$\sin \pi A-\cos \pi A=0$

$\cos(\dfrac{\pi}{2}-\pi A)-\cos \pi A=0$

$-2\sin\dfrac{\pi}{4}\sin (\dfrac{\pi}{4}-\pi A)=0$

$\sin (\dfrac{\pi}{4}-\pi A)=0$

$\pi A-\dfrac{\pi}{4}=n\pi$

$A=n+\dfrac{1}{4} \ \ ,n\in \mathbf{Z} $

ข้อ ข

$|2A| < 1$

$-\dfrac{1}{2}<A< \dfrac{1}{2}$

จะได้ $n=0$ จะได้ $A=\dfrac{1}{4}$

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ gon View Post
$\sin (\frac{11\pi}{8} \cos A) = \frac{1}{\sqrt{2}}$
$\sin (\dfrac{11\pi}{8}\cos A)=\dfrac{1}{\sqrt{2}}$

$\dfrac{11\pi}{8}\cos A=2n\pi+\dfrac{\pi}{4}$

ตรงนี้ $\pi$ ของข้างซ้ายเป็น $22/7$ หรือ $180$ หรอครับไม่แน่ใจเลย <ขอบคุณ คุณ Amankris ด้วยครับ>

$\cos A= \dfrac{16n+2}{11}$

$A= \cos^{-1} \dfrac{16n+2}{11}$
__________________
no pain no gain

23 สิงหาคม 2011 20:18 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ No.Name
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #20  
Old 22 สิงหาคม 2011, 19:18
Amankris's Avatar
Amankris Amankris ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,492
Amankris is on a distinguished road
Default

#19
$\pi\not=\dfrac{22}{7}$
$\pi\not=180$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #21  
Old 23 สิงหาคม 2011, 19:45
No.Name No.Name ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 20 เมษายน 2011
ข้อความ: 323
No.Name is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Amankris View Post
#19
$\pi\not=\dfrac{22}{7}$
$\pi\not=180$
แล้วเป็นค่าอะไรหรอครับหรือหมายความว่า $\pi =180^{\circ}$
__________________
no pain no gain
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #22  
Old 23 สิงหาคม 2011, 20:11
Amankris's Avatar
Amankris Amankris ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,492
Amankris is on a distinguished road
Default

#21
เข้าใจถูกแล้วครับ $\pi=180^\circ$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #23  
Old 23 สิงหาคม 2011, 20:18
No.Name No.Name ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 20 เมษายน 2011
ข้อความ: 323
No.Name is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Amankris View Post
#21
เข้าใจถูกแล้วครับ $\pi=180^\circ$
ผมแก้ไขแล้วไม่ทราบว่าถูกหรือเปล่าครับ

คำตอบแปลกมากๆ
__________________
no pain no gain
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #24  
Old 23 สิงหาคม 2011, 20:35
gon's Avatar
gon gon ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎขั้นสูง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 มีนาคม 2001
ข้อความ: 4,608
gon is on a distinguished road
Smile

ข้อ 7. คำตอบถูกแล้วครับ แต่ข้อ 6. ผิดตั้งแต่บรรทัดที่ 2 (ถูกครึ่งเดียว)

Hint : $-1 \le \cos A \le 1$

$\pi$ ก็คือจำนวนอตรรกยะ ซึ่งมีค่าประมาณ 3.14159265...
แต่ถ้าเป็นระบบมุม $\pi$ radian = 180 degree

มุม 1 เรเดียน = $\frac{180}{\pi} = \frac{180}{3.414159265...} = 57.3 $ องศา โดยประมาณ

อ้างอิง:
8. $\tan (\pi(A^2-A)) - \tan (\pi A) = 0$

23 สิงหาคม 2011 20:36 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ gon
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #25  
Old 26 สิงหาคม 2011, 01:44
-InnoXenT-'s Avatar
-InnoXenT- -InnoXenT- ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 17 มิถุนายน 2008
ข้อความ: 487
-InnoXenT- is on a distinguished road
Default

__________________
เมื่อไรเราจะเก่งเลขน้าาาาาา ~~~~

T T

ไม่เก่งซักที ทำไงดี

26 สิงหาคม 2011 01:46 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ -InnoXenT-
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #26  
Old 26 สิงหาคม 2011, 04:54
gon's Avatar
gon gon ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎขั้นสูง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 มีนาคม 2001
ข้อความ: 4,608
gon is on a distinguished road
Cool

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ -InnoXenT- View Post
เกือบถูกหมดแล้วครับ แต่พลาดตอนตอบนิด เพราะคำตอบไม่ได้มีแค่ 3 ค่า

เนื่องจากฟังก์ชันไซน์ไม่ใช่ฟังก์ชัน 1-1 ดังนั้นคำตอบจะมีมากมายนับไม่ถ้วนครับ.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #27  
Old 29 สิงหาคม 2011, 23:09
-InnoXenT-'s Avatar
-InnoXenT- -InnoXenT- ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 17 มิถุนายน 2008
ข้อความ: 487
-InnoXenT- is on a distinguished road
Default

ต้องบวกด้วย $2n\pi$ ด้วยสินะ = =" ลืมไปเลย
__________________
เมื่อไรเราจะเก่งเลขน้าาาาาา ~~~~

T T

ไม่เก่งซักที ทำไงดี
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #28  
Old 30 สิงหาคม 2011, 18:30
No.Name No.Name ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 20 เมษายน 2011
ข้อความ: 323
No.Name is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
$8.\tan (\pi(A^2-A)) - \tan (\pi A) = 0$
$\sin (\pi A(A-1))\cos (\pi A)-\sin (\pi A)\cos (\pi A(A-1))=0$

$\sin(\pi A(A-2))=0$

$\pi A(A-2)=n\pi$

$A^2-2A-n=0$

$A=\ 1\pm \sqrt{1+n}$

คำตอบมันแปลกๆอีกแล้วอ่ะครับ
__________________
no pain no gain

03 กันยายน 2011 19:03 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ No.Name
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #29  
Old 03 กันยายน 2011, 17:46
gon's Avatar
gon gon ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎขั้นสูง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 มีนาคม 2001
ข้อความ: 4,608
gon is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ -InnoXenT- View Post
ต้องบวกด้วย $2n\pi$ ด้วยสินะ = =" ลืมไปเลย
ยังหายไปอีกครึ่งหนึ่งครับ

ตัวอย่างคำตอบ

$A = 2n\pi \pm \arccos \frac{2}{11}$ เมื่อ $n \in \mathbb{I}$

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ No.Name View Post
$\sin (\pi A(A-1))\cos (\pi A)-\sin (\pi A)\cos (\pi A(A-1))=0$

$\sin(\pi A(A-2))=0$

$\pi A(A-2)=n\pi$

$A^2-A-n=0$

$A=\ \dfrac{1\pm \sqrt{1+4n}}{2}$

คำตอบมันแปลกๆอีกแล้วอ่ะครับ
สมการรองสุดท้าย ยังไม่ถูกครับ.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #30  
Old 03 กันยายน 2011, 19:04
No.Name No.Name ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 20 เมษายน 2011
ข้อความ: 323
No.Name is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ gon View Post

สมการรองสุดท้าย ยังไม่ถูกครับ.
ถูกหรือยังครับ

ขอโจทย์อีกได้ไหมครับ
__________________
no pain no gain
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 12:04


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha