Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > พีชคณิต
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #31  
Old 03 กันยายน 2011, 19:43
gon's Avatar
gon gon ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎขั้นสูง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 มีนาคม 2001
ข้อความ: 4,608
gon is on a distinguished road
Cool

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ No.Name View Post
ถูกหรือยังครับ

ขอโจทย์อีกได้ไหมครับ
คำตอบถูกแล้วครับ แต่ควรเขียนให้ชัดเจนอีกนิดว่า n เป็นจำนวนเต็มที่มีค่าตั้งแต่ -1 ขึ้นไป

ข้อ 9. $4\cos (4A - \frac{\pi}{3}) + \sqrt{2} - \sqrt{6} = 0$

ข้อ 10. $\frac{\sin 4A}{\cos 6A} = 1$

ข้อ 11. $\frac{1+\tan A}{1-\tan A} = \tan 3A$

ข้อ 12. $\cot(3A - \frac{\pi}{3}) = \cot(\frac{A}{2} + \frac{\pi}{6})$

ข้อ 13. $\cos[\frac{\pi}{8}(3x-\sqrt{9x^2+160x+800})] = 1$

03 กันยายน 2011 19:44 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ gon
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #32  
Old 03 กันยายน 2011, 20:41
No.Name No.Name ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 20 เมษายน 2011
ข้อความ: 323
No.Name is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ gon View Post

ข้อ 10. $\dfrac{\sin 4A}{\cos 6A} = 1$
$\sin 4A= \cos 6A$

$\cos (\dfrac{\pi}{2}-4A)= \cos 6A$

$2n\pi \pm (\dfrac{\pi}{2}-4A)=6A$

$A= \dfrac{\pi(4n+1)}{20},\dfrac{(4n-1)\pi}{4}$

ถูกหรือเปล่าครับ

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ gon View Post

ข้อ 9. $4\cos (4A - \frac{\pi}{3}) + \sqrt{2} - \sqrt{6} = 0$
$4 \cos(4A-\dfrac{\pi}{3})+\sqrt{2}-\sqrt{6}=0$

$4\cos(4A-\dfrac{\pi}{3})-4\cos 75^{\circ}=0$


$\cos(4A-\dfrac{\pi}{3})=\cos \dfrac{15\pi}{36}$

$4A-\dfrac{\pi}{3}= 2n\pi \pm \dfrac{15\pi}{36}$

$A= \dfrac{(72n+37)\pi}{144},\dfrac{(72n+13)\pi}{144}$
__________________
no pain no gain

03 กันยายน 2011 21:49 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ No.Name
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #33  
Old 14 กันยายน 2011, 20:09
PP_nine's Avatar
PP_nine PP_nine ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 เมษายน 2010
ข้อความ: 607
PP_nine is on a distinguished road
Default

อันนี้เป็นโจทย์อีกแนวหนึ่งของการใช้ตรีโกณช่วยให้แก้สมการง่ายขึ้นครับ

อ้างอิง:
หารากจริงสมการ $$\frac{\sqrt{1+x^2}}{x}=\sqrt{1+x^2}-1$$
__________________
keep your way.

14 กันยายน 2011 20:09 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ PP_nine
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #34  
Old 16 กันยายน 2011, 22:03
gon's Avatar
gon gon ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎขั้นสูง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 มีนาคม 2001
ข้อความ: 4,608
gon is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ No.Name View Post
$\sin 4A= \cos 6A$

$\cos (\dfrac{\pi}{2}-4A)= \cos 6A$

$2n\pi \pm (\dfrac{\pi}{2}-4A)=6A$

$A= \dfrac{\pi(4n+1)}{20},\dfrac{(4n-1)\pi}{4}$

ถูกหรือเปล่าครับ
ข้อ 10. ยังไม่ถูกนะครับ ต้องตัดเงื่อนไขที่ทำให้ตัวส่วนเป็นศูนย์

ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #35  
Old 18 กันยายน 2011, 17:27
skybaron skybaron ไม่อยู่ในระบบ
เริ่มฝึกวรยุทธ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 กันยายน 2011
ข้อความ: 17
skybaron is on a distinguished road
Default

$\frac{cos 42 - cos 6 + \sqrt{3} sin 6 + 4 sin 24 cos^2 6}{sin 36} $

ช่วยคิดทีครับ
ปล. องศานะครับ
__________________
[Skyline_Baronmake]
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #36  
Old 19 กันยายน 2011, 12:24
asdfqwer asdfqwer ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 23 มกราคม 2010
ข้อความ: 38
asdfqwer is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ gon View Post

ข้อ 11. $\frac{1+\tan A}{1-\tan A} = \tan 3A$
ข้อนี้ตอบ arctan(-1\pm \sqrt{5} ) ปะคับ?
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #37  
Old 19 กันยายน 2011, 17:34
gon's Avatar
gon gon ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎขั้นสูง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 มีนาคม 2001
ข้อความ: 4,608
gon is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ skybaron View Post
$\frac{cos 42 - cos 6 + \sqrt{3} sin 6 + 4 sin 24 cos^2 6}{sin 36} $

ช่วยคิดทีครับ
ปล. องศานะครับ
หัวข้อนี้เป็นเรื่องสมการตรีโกณมิติเท่านั้นครับ

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ asdfqwer View Post
ข้อนี้ตอบ $arctan(-1\pm \sqrt{5} )$ ปะคับ?
ยังไม่ใช่ครับ และ คำตอบต้องตอบเป็นรูปทั่วไป ไม่ใช่รูปเฉพาะ

Hint
1. $\tan(A+B) = \frac{\tan A + \tan B}{1-\tan A \tan B}$
2. ถ้า $\tan A = \tan B$ แล้ว $A = n\pi + B$
3. ตัวส่วนต้องมีค่าไม่เป็นศูนย์

19 กันยายน 2011 17:35 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ gon
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #38  
Old 19 กันยายน 2011, 19:15
No.Name No.Name ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 20 เมษายน 2011
ข้อความ: 323
No.Name is on a distinguished road
Smile

ยังไม่ค่อยสะดวกมาตอบครับ

เดี๋ยวรอน้ำลดก่อน ข้อที่เหลือจะลองไปคิดดูครับ ขอบคุณครับ
__________________
no pain no gain
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #39  
Old 21 กันยายน 2011, 10:47
asdfqwer asdfqwer ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 23 มกราคม 2010
ข้อความ: 38
asdfqwer is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ gon View Post

ยังไม่ใช่ครับ และ คำตอบต้องตอบเป็นรูปทั่วไป ไม่ใช่รูปเฉพาะ

Hint
1. $\tan(A+B) = \frac{\tan A + \tan B}{1-\tan A \tan B}$
2. ถ้า $\tan A = \tan B$ แล้ว $A = n\pi + B$
3. ตัวส่วนต้องมีค่าไม่เป็นศูนย์
22.5 องศาปะคับ หรือพาย/8ปะคับ
จิงๆใช้แค่ hint ข้อแรกก็พอไม่ใช่หรอคับ ให้มาอีกทำไมหรอครับ?
ป.ล.วิธีผมว่ามันเกรียนๆนิดๆนะครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #40  
Old 22 กันยายน 2011, 19:43
gon's Avatar
gon gon ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎขั้นสูง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 มีนาคม 2001
ข้อความ: 4,608
gon is on a distinguished road
Icon20

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ asdfqwer View Post
22.5 องศาปะคับ หรือพาย/8ปะคับ
จิงๆใช้แค่ hint ข้อแรกก็พอไม่ใช่หรอคับ ให้มาอีกทำไมหรอครับ?
ป.ล.วิธีผมว่ามันเกรียนๆนิดๆนะครับ
ถูกเพียง 1 ในล้าน ๆ ๆ ๆ ๆ ... ครับ

คำตอบที่ถูก ต้องตอบเป็นรูปทั่วไป

ข้ออื่นให้มา เพื่อตัดคำตอบที่อาจจะเป็นไปไม่ได้ทิ้งครับ ไม่ใช่ว่าได้เท่าไรมาก็ตอบทั้งหมดเท่านั้น

เช่น ถ้าหาคำตอบได้มา 4 ค่า แต่ใน 4 ค่านี้อาจจะเป็นไปได้เพียง 2 ค่าเท่านั้น ถ้าตอบทั้ง 4 ค่า ก็ผิด
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #41  
Old 27 ตุลาคม 2011, 09:13
No.Name No.Name ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 20 เมษายน 2011
ข้อความ: 323
No.Name is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ gon View Post


ข้อ 11. $\frac{1+\tan A}{1-\tan A} = \tan 3A$
ไม่ได้มาซะนาน

$\dfrac{1+\tan A}{1-\tan A}=\tan (45+A)$

$\tan (45+A)=\tan 3A$

ทำมาได้แค่นี้แหละ ครับต่อไม่เป็นแล้ว
__________________
no pain no gain
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #42  
Old 27 ตุลาคม 2011, 09:54
Real Matrik's Avatar
Real Matrik Real Matrik ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 พฤษภาคม 2011
ข้อความ: 386
Real Matrik is on a distinguished road
Default

แสดงว่า $45^๐+A=2n\pi+3A$ หรือ $45^๐+A=n\pi+A$ ครับ
ปล.ควรใส่หน่วย $^๐$ ด้วยนะครับ

27 ตุลาคม 2011 09:55 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Real Matrik
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #43  
Old 27 ตุลาคม 2011, 10:01
No.Name No.Name ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 20 เมษายน 2011
ข้อความ: 323
No.Name is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Real Matrik View Post
แสดงว่า $45^๐+A=2n\pi+3A$ หรือ $45^๐+A=n\pi+A$ ครับ
ปล.ควรใส่หน่วย $^๐$ ด้วยนะครับ
ขอบคุณครับที่ทักท้วง

ข้อของคุณ pp-nine ใช้ตรีโกณอย่างไรหรอครับ
__________________
no pain no gain

27 ตุลาคม 2011 10:02 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ No.Name
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #44  
Old 27 ตุลาคม 2011, 10:46
Real Matrik's Avatar
Real Matrik Real Matrik ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 พฤษภาคม 2011
ข้อความ: 386
Real Matrik is on a distinguished road
Default

ลองแทน $x=\tan\theta$ (กำหนดได้ว่า $\theta\in[0,\pi]$ ทำไม??)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #45  
Old 29 ตุลาคม 2011, 13:17
PP_nine's Avatar
PP_nine PP_nine ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 เมษายน 2010
ข้อความ: 607
PP_nine is on a distinguished road
Default

ลืมไปเลยว่าเคยมาปล่อยโจทย์ไว้ที่นี่

ถ้าอยากรู้เฉลยก็ลองค้นดูในบอร์ดมาราธอน ม.ปลายดูครับ

เฉลยจ้า mathcenter.net/forum/showthread.php?t=11094&page=37#546
__________________
keep your way.

29 ตุลาคม 2011 13:17 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ PP_nine
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 22:20


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha