Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > พีชคณิต
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #136  
Old 19 พฤษภาคม 2007, 08:08
kanakon's Avatar
kanakon kanakon ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 31 ตุลาคม 2006
ข้อความ: 523
kanakon is on a distinguished road
Default

อึ้งไปประมาณ 5 วินาที

ยกกำลัง 2 ทั้งสองข้าง
$$(\dfrac{a}{b}+\dfrac{b}{c}+\dfrac{c}{a})^2=(\dfrac{b}{a}+\dfrac{a}{c}+\dfrac{c}{b})^2$$

จะได้

$$\dfrac{a^2}{b^2}+\dfrac{b^2}{c^2}+\dfrac{c^2}{a^2}+\dfrac{2b}{a}+\dfrac{2a}{c}+\dfrac{2c}{b}=\dfrac{b^2}{a^2}+\dfrac{a^2}{c^2} +\dfrac{c^2}{b^2}+\dfrac{2a}{b}+\dfrac{2b}{c}+\dfrac{2c}{a}$$

$\because$ $$\dfrac{2a}{b}+\dfrac{2b}{c}+\dfrac{2c}{a}=\dfrac{2b}{a}+\dfrac{2a}{c}+\dfrac{2c}{b}$$

$\therefore $ $$\dfrac{a^2}{b^2}+\dfrac{b^2}{c^2}+\dfrac{c^2}{a^2}=\dfrac{b^2}{a^2}+\dfrac{a^2}{c^2}+\dfrac{c^2}{b^2}$$

ขอบคุณ คุณ nooonuii มากครับ
__________________
ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ

$$|I-U|\rightarrow \infty $$

19 พฤษภาคม 2007 08:43 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ kanakon
เหตุผล: แก้พจน์ที่มีเลข 2
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #137  
Old 19 พฤษภาคม 2007, 08:29
kanakon's Avatar
kanakon kanakon ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 31 ตุลาคม 2006
ข้อความ: 523
kanakon is on a distinguished road
Default

36. find the real roots of the equation.

$$x^2+2ax+\frac{1}{16} = -a +\sqrt{(a^2+x-\frac{1}{16} )} $$
__________________
ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ

$$|I-U|\rightarrow \infty $$

19 พฤษภาคม 2007 08:45 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ kanakon
เหตุผล: ใส่เลขข้อ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #138  
Old 19 พฤษภาคม 2007, 08:36
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

ผมก็อึ้งกับคำตอบเหมือนกันครับ แต่ตอนกระจายกำลังสองน่ะครับ รู้สึกว่าเทอมที่มีเลข 2 มันสลับข้างกันอยู่

งั้นเอาใหม่ ยากกว่าเดิมนิดนึง

37. ให้ $a,b,c$ เป็นจำนวนจริงที่ไม่เป็นศูนย์ โดยที่ $\dfrac{a}{b}+\dfrac{b}{c}+\dfrac{c}{a}=
\dfrac{b}{a}+\dfrac{a}{c}+\dfrac{c}{b}$
จงพิสูจน์ว่า สำหรับทุกจำนวนเต็ม $n$ $$\Big(\frac{a}{b}\Big)^n+\Big(\frac{b}{c}\Big)^n+\Big(\frac{c}{a}\Big)^n=\Big(\frac{b}{a}\Big)^n+\Big(\frac{a}{c}\Big)^n
+\Big(\frac{c}{b}\Big)^n$$
__________________
site:mathcenter.net คำค้น

19 พฤษภาคม 2007 08:39 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ nooonuii
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #139  
Old 19 พฤษภาคม 2007, 15:29
Mathophile's Avatar
Mathophile Mathophile ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไว
 
วันที่สมัครสมาชิก: 31 มีนาคม 2007
ข้อความ: 250
Mathophile is on a distinguished road
Default

37. จาก $\displaystyle{\frac{a}{b}+\frac{b}{c}+\frac{c}{a}=\frac{b}{a}+\frac{a}{c}+\frac{c}{b}}$

ดังนั้น $\displaystyle{\Big(\frac{a}{b}-\frac{b}{a}\Big)+\Big(\frac{b}{c}-\frac{c}{b}\Big)+\Big(\frac{c}{a}-\frac{a}{c}\Big)=0}$

คูณตลอดด้วย $abc$ จะได้ $0=c(a^2-b^2)+a(b^2-c^2)+b(c^2-a^2)=(a-b)(b-c)(c-a)$

ดังนั้น $a=b$ หรือ $b=c$ หรือ $c=a$

โดยไม่เสียนัยสำคัญ ให้ $a=b$ ฉะนั้น
$$\displaystyle{\Big(\frac{a}{b}\Big)^n+\Big(\frac{b}{c}\Big)^n+\Big(\frac{c}{a}\Big)^n=1+\Big(\frac{a}{c}\Big)^n+\Big(\frac{c}{ a}\Big)^n=\Big(\frac{b}{a}\Big)^n+\Big(\frac{a}{c}\Big)^n+\Big(\frac{c}{b}\Big)^n}$$

19 พฤษภาคม 2007 15:34 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Mathophile
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #140  
Old 23 พฤษภาคม 2007, 00:35
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ kanakon View Post
36. find the real roots of the equation.

$$x^2+2ax+\frac{1}{16} = -a +\sqrt{(a^2+x-\frac{1}{16} )} $$
ข้อนี้โหดมากเลยครับ คิดเลขกันหัวระเบิดเลย ขอตอบเฉพาะแนวคิดนะครับ

จัดรูปให้อยู่ในรูปพหุนามกำลังสองในตัวแปร $a$ จากนั้นก็แก้สมการกำลังสองหาค่า $a$ ในรูปของ $x$ ก็จะได้ตัวประกอบยุ่งๆออกมา เสร็จแล้วก็แก้สมการกำลังสองธรรมดาครับ คำตอบที่ได้จะขึ้นอยู่กับค่า $a$ ครับ ซึ่งต้องแยกกรณีพิจารณาว่าอยู่ในช่วงไหนบ้าง
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #141  
Old 23 พฤษภาคม 2007, 00:49
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

38. ให้ $a,b$ เป็นจำนวนจริงบวก จงพิสูจน์ว่า พหุนาม $P(x)=x^3+ax-b$ มีรากจริงเพียงค่าเดียว
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #142  
Old 23 พฤษภาคม 2007, 15:57
kanakon's Avatar
kanakon kanakon ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 31 ตุลาคม 2006
ข้อความ: 523
kanakon is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ nooonuii View Post
38. ให้ $a,b$ เป็นจำนวนจริงบวก จงพิสูจน์ว่า พหุนาม $P(x)=x^3+ax-b$ มีรากจริงเพียงค่าเดียว
ผมเจอวิธีของคาดานในการหารากของ $ax^3+bx^2+cx+d$ โดยให้ $x=t-\frac{b}{3a} $ จะจัดได้ในรูป $t^3+pt+q$ โดยสรุปคือรากทั้ง 3 จะเป็นจำนวนจริงอยู่ 1 จำนวนและ
จำนวนเชิงซ้อนอีก 2 จำนวนแต่ solution ค่อนข้างยุ่งยากเหลือเกิน
__________________
ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ

$$|I-U|\rightarrow \infty $$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #143  
Old 24 พฤษภาคม 2007, 11:35
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

ข้อ 38 มีวิธีที่ง่ายกว่านั้นและใช้แค่การวิเคราะห์ธรรมดาครับ
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #144  
Old 27 พฤษภาคม 2007, 03:10
passer-by passer-by ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 เมษายน 2005
ข้อความ: 1,442
passer-by is on a distinguished road
Smile

38. เนื่องจาก พหุนามดีกรี 3 และ สปส. เป็นจำนวนจริง ดังนั้น ย่อมมีรากจริงอย่างน้อย 1 รากอยู่แล้ว เท่ากัับว่า การพิสูจน์ Existence จบไป ต่อไปก็เหลือแต่พิสูจน์่ uniqueness

ให้ $ r_1 ,r_2 $ เป็นรากจริง 2 รากของ $P(x)$ ดังนั้น $$ 0 = P(r_1)-P(r_2)= (r_1-r_2)(r_1^2+r_1r_2+r_2^2 +a) $$ เพราะวงเล็บหลังเป็น positive number ดังนั้น $ r_1=r_2 $

NOTE: ในส่วนของการ show uniqueness สามารถทำได้อีกวิธีโดยใช้ Rolle 's Theorem มาอ้างครับ
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #145  
Old 27 พฤษภาคม 2007, 11:39
Mathophile's Avatar
Mathophile Mathophile ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไว
 
วันที่สมัครสมาชิก: 31 มีนาคม 2007
ข้อความ: 250
Mathophile is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ kanakon View Post
36. find the real roots of the equation.
$$x^2+2ax+\frac{1}{16} = -a +\sqrt{(a^2+x-\frac{1}{16} )}$$
$\begin{array}{rcl}
\therefore x^2+2ax+a^2&=&a^2-a-\frac{1}{16}+\sqrt{(a^2+x-\frac{1}{16} )}\\
(x+a)^2&=&a^2+x-\frac{1}{16}+\sqrt{(a^2+x-\frac{1}{16} )}-x-a\\
(x+a)^2+(x+a)&=&a^2+x-\frac{1}{16}+\sqrt{(a^2+x-\frac{1}{16} )}\\
\end{array}$
ให้ $p=x+a,q=\sqrt{(a^2+x-\frac{1}{16} )}$ จะได้ $p^2+p=q^2+q\Rightarrow q=p,-(p+1)$
นั่นคือ $\sqrt{(a^2+x-\frac{1}{16} )}=x+a,-(x+a+1)$
ดังนั้น $\displaystyle{x=\frac{2-4a\pm \sqrt{(16a^2-16a+3)}}{4},\frac{-2-4a\pm \sqrt{(16a^2-16a-13)}}{4}}$

ส่วนการเช็คว่า $x$ ที่ได้จะเป็นจำนวนจริงหรือไม่และเป็นเมื่อไหร่ คงต้องให้ท่านอื่นมาช่วยเช็คแล้วล่ะครับ ตอนนี้ตาลายแล้วครับ

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ passer-by View Post
38. เนื่องจาก พหุนามดีกรี 3 และ สปส. เป็นจำนวนจริง ดังนั้น ย่อมมีรากจริงอย่างน้อย 1 รากอยู่แล้ว เท่ากัับว่า การพิสูจน์ Existence จบไป ต่อไปก็เหลือแต่พิสูจน์่ uniqueness
ตรงนี้คุณ passer-by ใช้ทฤษฏีอะไรหรอครับ และมีแหล่งค้นคว้าศึกษาเกี่ยวกับทฤษฏีนี้ไหมครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #146  
Old 27 พฤษภาคม 2007, 12:07
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ nooonuii View Post
38. ให้ $a,b$ เป็นจำนวนจริงบวก จงพิสูจน์ว่า พหุนาม $P(x)=x^3+ax-b$ มีรากจริงเพียงค่าเดียว

ใครจะต่อข้อต่อไปเชิญเลยครับ
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #147  
Old 27 พฤษภาคม 2007, 15:19
passer-by passer-by ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 เมษายน 2005
ข้อความ: 1,442
passer-by is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Mathophile View Post
38. เนื่องจาก พหุนามดีกรี 3 และ สปส. เป็นจำนวนจริง ดังนั้น ย่อมมีรากจริงอย่างน้อย 1 รากอยู่แล้ว เท่ากัับว่า การพิสูจน์ Existence จบไป ต่อไปก็เหลือแต่พิสูจน์่ uniqueness

ตรงนี้คุณ passer-by ใช้ทฤษฏีอะไรหรอครับ และมีแหล่งค้นคว้าศึกษาเกี่ยวกับทฤษฏีนี้ไหมครับ
ก็วิเคราะห์ตามปกติครับ

ลองนึกถึงความเป็นจริงว่า พหุนามมี3 ราก แยกออกมาเป็น $ (x-r_1)(x-r_2)(x-r_3) $
ถ้า ทั้ง 3 รากเป็นจำนวนจินตภาพ ทำให้ผลคูณทั้ง 3 วงเล็บ กลายเป็น พหุนามที่มีสัมประสิทธิ์บางตัวเป็นจำนวนจินตภาพ ซึ่งขัดแย้งกัับโจทย์ ดังนั้นต้องมีรากจริงอย่างน้อย 1 รากครับ
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #148  
Old 27 พฤษภาคม 2007, 21:10
pathpot pathpot ไม่อยู่ในระบบ
สมาชิกใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 17 พฤษภาคม 2007
ข้อความ: 4
pathpot is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ nooonuii View Post
38. ให้ $a,b$ เป็นจำนวนจริงบวก จงพิสูจน์ว่า พหุนาม $P(x)=x^3+ax-b$ มีรากจริงเพียงค่าเดียว
ให้รากสมรากของ p(x) เป็น p,q,r

จะได้
$pq+qr+rp = a >0$
และ
$p+q+r = 0$
นั่นคือ
$p^2+q^2+r^2 = -2(pq+qr+rp)$
$p^2+q^2+r^2 = -2a < 0$
แต่จำนวนจริงยกกำลังสองมากกว่า 0 เสมอ
จะได้ว่าต้องมีจำนวนเชิงซ้อน
จาก P(x) มีสัมประสิทธ์เป็นจำนวนจริง
จะได้ว่า conjugate มันก็ต้องเป็นราก และมีรากจริงเพียง 1 ราก

27 พฤษภาคม 2007 21:11 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ pathpot
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #149  
Old 29 พฤษภาคม 2007, 03:35
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

ในเมื่อไม่มีใครตั้ง ผมก็ขอปั่นกระทู้ต่อ

39. จงพิสูจน์ว่าระบบสมการ
$$ \begin{array}{rcl} \dfrac{1}{x}+\dfrac{1}{y}+\dfrac{1}{z} & = & 1 \\ x\, + y\, +\, z & = & 2 \\ x^2+y^2+z^2 & = & 3 \end{array}$$
ไม่มีคำตอบในระบบจำนวนจริง
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #150  
Old 29 พฤษภาคม 2007, 16:18
kanakon's Avatar
kanakon kanakon ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 31 ตุลาคม 2006
ข้อความ: 523
kanakon is on a distinguished road
Default

จากสมการที่ 1 และ 2 และ 3จะได้ $xy+yz+zx=xyz=\frac{1}{2} $

จาก AM.GM. จะได้ $$\frac{x+y+z}{3}\geq\sqrt[3]{xyz}$$

$$\therefore {x+y+z}\geq\sqrt[3]{\frac{27}{2} }>2$$

ซึ่งขัดแย้งกับสมการที่ 2 จึงไม่มีคำตอบเป็นจำนวนจริง
__________________
ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ

$$|I-U|\rightarrow \infty $$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply


หัวข้อคล้ายคลึงกัน
หัวข้อ ผู้ตั้งหัวข้อ ห้อง คำตอบ ข้อความล่าสุด
Algebra คืออะไร [C++] ปัญหาคณิตศาสตร์ทั่วไป 15 30 มกราคม 2021 11:31
โจทย์ Algebra Crazy pOp ปัญหาคณิตศาสตร์ทั่วไป 1 28 กรกฎาคม 2020 03:14
ปัญหา MOdern Algebra อีกแล้วครับ เรียวคุง พีชคณิต 1 09 กันยายน 2006 22:02
ช่วยแสดงข้อนี้ให้ดูทีครับ (Modern Algebra) เรียวคุง พีชคณิต 3 06 กันยายน 2006 15:27
คำถามพีชคณิตเชิงเส้น Linear Algebra M@gpie พีชคณิต 4 17 พฤษภาคม 2006 10:31


กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 07:10


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha