Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 20 กรกฎาคม 2006, 12:35
mayalone mayalone ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 05 กรกฎาคม 2006
ข้อความ: 40
mayalone is on a distinguished road
Post ช่วยพิสูจน์หน่อยครับ

พิสูจน์ว่า
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 20 กรกฎาคม 2006, 14:34
rigor's Avatar
rigor rigor ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 30 มกราคม 2005
ข้อความ: 137
rigor is on a distinguished road
Post

ถ้า $x \geq 0$ แล้ว $x^2 = (x)(x) = |x| \cdot |x| = |x|^2$

และถ้า $x < 0$ แล้ว $x^2 = (x)(x) = (-x)(-x) = |x| \cdot |x| = |x|^2$

ดังนั้น $x^2 = |x|^2$ สำหรับทุก $x \in R$

และ $\sqrt{x^2} = \sqrt{|x|^2} = \sqrt{|x|\cdot |x|} = |x|$
__________________
$ \rho\iota\gamma$o$\rho \ \iota\sigma \ \omega$o$\rho\kappa\iota\nu\gamma \ \eta\alpha\rho\delta $
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 20 กรกฎาคม 2006, 15:18
mayalone mayalone ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 05 กรกฎาคม 2006
ข้อความ: 40
mayalone is on a distinguished road
Post

ขอบคุณมากครับ พี่ rigor มีอีกนิดนึงนะครับ พิสูจน์ว่า
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 20 กรกฎาคม 2006, 16:29
mayalone mayalone ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 05 กรกฎาคม 2006
ข้อความ: 40
mayalone is on a distinguished road
Post

พิสูจน์ว่า ไม่มี r จำนวนตรรกยะ ที่ r^2 = 3
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 20 กรกฎาคม 2006, 18:10
rigor's Avatar
rigor rigor ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 30 มกราคม 2005
ข้อความ: 137
rigor is on a distinguished road
Post

พิสูจน์โดยข้อขัดแย้ง สมมติว่าช่วง $I_n$ ทั้งหมด intersect กันแล้วไม่เป็นเซตว่าง แสดงว่ามี $x \in R$ บางตัวซึ่งอยู่ในทุกช่วง $I_n$

นั่นคือ $ 0 < x < \frac{1}{n}$ สำหรับทุก $n \in N$

แต่ว่าสำหรับ $x \in R$ ใดๆที่เลือกขึ้นมา จะมี $n' \in N$ บางตัวซึ่ง $\frac{1}{n'} < x$ เสมอ ซึ่งแปลว่า $x \not\in I_{n'}$ สำหรับบาง $n' \in N$ เกิดข้อขัดแย้ง

ดังนั้นช่วง $I_n$ ทั้งหมด intersect กันต้องเป็นเซตว่าง

การบ้านหรือครับ
__________________
$ \rho\iota\gamma$o$\rho \ \iota\sigma \ \omega$o$\rho\kappa\iota\nu\gamma \ \eta\alpha\rho\delta $
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 20 กรกฎาคม 2006, 20:50
mayalone mayalone ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 05 กรกฎาคม 2006
ข้อความ: 40
mayalone is on a distinguished road
Post

ขอบคุณมากเลยครับ พี่ rigor ยังเหลืออีกข้อนึงนะครับ คือไม่ได้กินแรงพี่นะครับ
แต่ ผมคิดได้แค่ พิสูจน์ว่า ไม่มี rจำนวนตรรกยะ ที่ r^2 = 2 แต่พอเปลี่ยนมาเป็น
พิสูจน์ว่า ไม่มี r ที่จำนวนตรรกยะ ที่ r^2 = 3 มันทำมะด้าย อ่าครับพี่ และอยากทราบว่าทำไมพี่เก่งจังครับ มีวิธีไหนที่ทำให้เก่งคณิตศาสตร์ครับ เรื่องความขยันผมไม่มีถอยอยู่แล้วแต่หัวสมองนี่สิ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 20 กรกฎาคม 2006, 21:10
M@gpie's Avatar
M@gpie M@gpie ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 09 ตุลาคม 2003
ข้อความ: 1,227
M@gpie is on a distinguished road
Post

ถ้าพิสูจน์แบบอ้างการเป็นตัวประกอบ ก็ทำในทำนองเดียวกับการพิสูจน์ \( \sqrt{2} \) ได้นะครับ
แต่ผมขอเสนอวิธีที่สั้นกว่าหน่อย
สมมติให้ \[ x=\sqrt{3} \rightarrow x^2 =3 \]
ดังนั้น \( \sqrt{3} \) เป็นคำตอบของสมการข้างต้น
โดยทฤษฏีบทคำตอบที่เป็นจำนวนตรรกยะ คำตอบที่เป็นจำนวนตรรกยะของสมการนี้จะต้องเป็นจำนวนตรรกยะที่มีค่า 3 หรือ -3 เท่านั้น
สรุปได้ว่า \( \sqrt{3} \) เป็นจำนวนอตรรกยะ
__________________
PaTa PatA pAtA Pon!
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 21 กรกฎาคม 2006, 06:21
rigor's Avatar
rigor rigor ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 30 มกราคม 2005
ข้อความ: 137
rigor is on a distinguished road
Post

ให้น้องศึกษาหัวข้อต่อไปนี้ตามลำดับ
definition of a proof
logically equivalent statements
rules of inference
quantifiers $$, "$
methods of proofs

แล้วจะเริ่มเข้าใจครับ ว่าเขียนพิสูจน์ยังไงไม่มั่ว ฟัง comment ของอาจารย์ด้วยครับ เวลาได้โจทย์ไม่ต้องเกรงใจมันครับ ขีดๆเขียนๆดูก่อนครับ focus บนเงื่อนไขตรรกศาสตร์โจทย์ที่ให้มาเท่านั้นครับ ไม่ต้องมองไกลครับ และนิยามและทบ.ที่เกี่ยวข้องก็ต้องเข้าใจถึงแก่นครับ ทบ.ไหนที่ต้องใช้งานก็ต้องพยายามเขียนพิสูจน์ให้ได้ครับ

ต้องถามตัวเองด้วยครับว่าเก่งไปทำอะไร ถ้าเก่งเพื่อโชว์เหนือ หรือเก่งเพื่อเก่ง ไม่เป็นประโยชน์กับโลก แต่ถ้าเก่งเพื่อติวเพื่อน เก่งเพื่อให้ความรู้คนอื่น เพื่อทำชื่อเสียงให้ประเทศ เก่งเพื่อทำวิจัยสร้างสรรค์อารยธรรม ฯลฯ แบบนี้เป็นเหตุผลที่มีน้ำหนักมากกว่า เวลาเจออุปสรรคเราจะไม่ท้อง่ายๆครับ สมองและความขยันเป็นเหมือน speed แล้ว direction หละครับคืออะไร ที่จริงแล้ว direction สำคัญกว่า speed อีกนะ เอาไปคิดดูครับ
__________________
$ \rho\iota\gamma$o$\rho \ \iota\sigma \ \omega$o$\rho\kappa\iota\nu\gamma \ \eta\alpha\rho\delta $
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #9  
Old 21 กรกฎาคม 2006, 06:23
rigor's Avatar
rigor rigor ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 30 มกราคม 2005
ข้อความ: 137
rigor is on a distinguished road
Post

ยืนยันอีกคนนะครับว่าเขียนพิสูจน์ $\sqrt{3}$ ทำแบบเดียวกันกับ $\sqrt{2}$ เลย
__________________
$ \rho\iota\gamma$o$\rho \ \iota\sigma \ \omega$o$\rho\kappa\iota\nu\gamma \ \eta\alpha\rho\delta $
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #10  
Old 21 กรกฎาคม 2006, 10:54
mayalone mayalone ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 05 กรกฎาคม 2006
ข้อความ: 40
mayalone is on a distinguished road
Post

เข้าใจแต่แ ล้วครับที่บอกมา คือว่าผมเป็นนิสิ โครงการ สควค นะครับ พี่คงรู้จัก มันเป็นทุนเรียนครู 5 ปี
จบไปก็มีงานทำ เพราฉะนั้นจึงอยากเก่ง แต่ในส่วนของคำนวณก็สอบได้ A Bประจำครับ แต่พอมาถึงวิชาพิสูจน์ ทำแทบไม่ค่อยได้เลย อิอิ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #11  
Old 21 กรกฎาคม 2006, 18:04
gon's Avatar
gon gon ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎขั้นสูง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 มีนาคม 2001
ข้อความ: 4,608
gon is on a distinguished road
Smile

ดู ชุดที่ 27 ครับ. จำนวนอตรรกยะ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #12  
Old 25 กรกฎาคม 2006, 01:59
mayalone mayalone ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 05 กรกฎาคม 2006
ข้อความ: 40
mayalone is on a distinguished road
Post

ช่วยพิสูจน์แบบใช้นิยามลิมิตหน่อยครับ คือ ถ้า c>0 แล้วn
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #13  
Old 25 กรกฎาคม 2006, 02:05
mayalone mayalone ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 05 กรกฎาคม 2006
ข้อความ: 40
mayalone is on a distinguished road
Post

โทดทีครับ พิมผิด เอาใหม่ ถ้า c>0 และ nแล้ว พิสูจน์โดยใช้นิยามของลิมิตว่า
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #14  
Old 25 กรกฎาคม 2006, 18:19
mayalone mayalone ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 05 กรกฎาคม 2006
ข้อความ: 40
mayalone is on a distinguished road
Post

มันโพสไม่ติดสักที เอาใหม่นะครับ ถ้า c>0 แล้ว พิสูจน์ lim n^(1/c) = 1 เมื่อ n
โดยใช้นิยามของ limit
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #15  
Old 25 กรกฎาคม 2006, 19:24
warut warut ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 พฤศจิกายน 2001
ข้อความ: 1,627
warut is on a distinguished road
Post

ข้อความดังกล่าวไม่เป็นจริงสำหรับทุกจำนวนจริง $c>0$ ครับ

25 กรกฎาคม 2006 19:38 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ warut
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 15:06


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha