Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 26 พฤศจิกายน 2007, 21:31
tantawan's Avatar
tantawan tantawan ไม่อยู่ในระบบ
เริ่มฝึกวรยุทธ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 สิงหาคม 2007
ข้อความ: 25
tantawan is on a distinguished road
Default จำนวนเชิงซ้อน

กำหนด $e^{\theta i} = \cos\theta + i\sin\theta$ ถ้ากระจาย $\log_e (\sqrt{3} + i)$ ให้อยู่ในรูป $a+bi$ โดย $a$ และ $b$ เป็นจำนวนจริงค่า $a$ เท่าใด

28 พฤศจิกายน 2007 10:43 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 4 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ nongtum
เหตุผล: TeX code fixed
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 25 เมษายน 2008, 12:32
kanakon's Avatar
kanakon kanakon ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 31 ตุลาคม 2006
ข้อความ: 523
kanakon is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ tantawan View Post
กำหนด $e^{\theta i} = \cos\theta + i\sin\theta$ ถ้ากระจาย $\log_e (\sqrt{3} + i)$ ให้อยู่ในรูป $a+bi$ โดย $a$ และ $b$ เป็นจำนวนจริงค่า $a$ เท่าใด
$$\because e^{\theta i} = \cos\theta + i\sin\theta$$
$$\log_e (\sqrt{3} + i)=a+bi$$
$$\therefore e^{a+bi}=\sqrt{3} + i$$
$$(e^a)(e^{bi})=\sqrt{3} + i$$
$$(e^a)(\cos b + i\sin b)=\sqrt{3} + i$$
$$(e^a)(\cos b + i\sin b)=2(\cos\frac{\pi}{6} + i\sin\frac{\pi}{6})$$
$$e^a=2 \Rightarrow a=ln~2~~and~~b=\frac{\pi}{6}+2n\pi;n \in \mathbb{Z}$$
__________________
ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ

$$|I-U|\rightarrow \infty $$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 25 เมษายน 2008, 21:04
หยินหยาง's Avatar
หยินหยาง หยินหยาง ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่จักรวาล
 
วันที่สมัครสมาชิก: 06 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,921
หยินหยาง is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ kanakon View Post
$$\log_e (\sqrt{3} + i)=a+bi$$
log เป็นฟังก์ชั่น $\mathbf{R} ^+\rightarrow \mathbf{R} $ ไม่ใช่หรือครับ ช่วยอธิบายทีครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 25 เมษายน 2008, 21:27
M@gpie's Avatar
M@gpie M@gpie ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 09 ตุลาคม 2003
ข้อความ: 1,227
M@gpie is on a distinguished road
Default

$\log$ สามารถขยายไปเป็นฟังก์ชันค่าเชิงซ้อนได้ครับ แต่ม.ปลายไม่ได้เรียนแค่นั้นเอง ข้อนี้จงใจเอามาให้เราใช้คุณสมบัติทึ่เขาให้มาครับ
__________________
PaTa PatA pAtA Pon!
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 26 เมษายน 2008, 12:27
kanakon's Avatar
kanakon kanakon ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 31 ตุลาคม 2006
ข้อความ: 523
kanakon is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ หยินหยาง View Post
log เป็นฟังก์ชั่น $\mathbf{R} ^+\rightarrow \mathbf{R} $ ไม่ใช่หรือครับ ช่วยอธิบายทีครับ
ที่จริงข้อนี้ผมไม่ได้สนใจโดเมนเลยและเรนจ์ครับ ผมทำไปเลยต้องขอบคุณคุณ หยินหยาง ที่ท้วงติงนะครับ
__________________
ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ

$$|I-U|\rightarrow \infty $$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 06:13


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha