Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์ทั่วไป > ปัญหาคณิตศาสตร์ทั่วไป
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #31  
Old 12 พฤศจิกายน 2016, 16:12
tamzz tamzz ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 มิถุนายน 2010
ข้อความ: 92
tamzz is on a distinguished road
Default

ก็เรามองว่าจำนวน จำนวนหนึ่ง คือจุดๆหนึ่งที่ไม่มีความยาวและพื้นที่ เราลองนึกถึงจุดสองจุดดู เราสามารถลากเส้นจากจุดแรกไปจุดที่สองได้ และ
ระหวางจุดสองจุด เราจะสามารถใส่จุดที่ไม่มีความยาวและพื้นที่่ได้ไม่จำกัดจำนวน ทีนี้เราลองมานึกภาพว่าเรามาซูมเส้นนั้นไปเรื่อยๆเราจะมองว่าการซูมคือการขยายเราสามารถวัดอัตตราการขยายได้เรามองว่าจุดโฟกัสของการซูม คือจุดๆนึงเมื่อพื้นที่โดยรอบขยายตัวจุดนั่นจะต้องหดตัวในอัตตราที่เท่ากันแต่ถ้าเราขยายตัวเร็วมากบางทีจุดโฟกัสจะไม่ใช่จำนวนตรรกยะเม ืื่อเทียบกับตำเหน่งเดิมเราจะมองว่าจุดโฟกัสจะขยับการขยับตัวนี้จะทำให้จุดซึ่งไม่มีความยาวและพื้นที่เกิดมีความยาวหรือพื้นที่ขึ้นมาท ำให้ระหว่างจุดสองจุดมีจำนวนของจุดที่ใส่ได้จำกัด ความเป็นอตรรกยะของจำนวนจะมาจากความเร่งของอัตราการขยายและจะบ่งบอกถึงทิิศทางการขยับของจุด เราสามารถใช้หลักการนี้ในการทำให้ระบบที่เราสังเกตุสูญเสียความต่อเนื่องการเป็นระบบจำกัดที่ง่ายต่อการคำนวนได้ครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #32  
Old 14 พฤศจิกายน 2016, 18:18
kongp kongp ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 05 พฤษภาคม 2006
ข้อความ: 1,127
kongp is on a distinguished road
Default

เป็นไปได้จริงๆ เมื่อ เป็นซ็อฟแวร์ หรือ เมื่องบสนับสนุบเพียงพอต่อการณ์นั้นๆ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #33  
Old 18 พฤศจิกายน 2016, 20:22
tamzz tamzz ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 มิถุนายน 2010
ข้อความ: 92
tamzz is on a distinguished road
Default

ผมขอยกตัวอย่างที่เป็นรูปธรรมมากขึ้น เช่นเราอาจจะมองว่าตำเหน่งต่างๆหลังจุุดทศนิยมคืออัตราการขยายเช่นเราคิดว่าแต่ละหลักก็คือการซูมเข้าไปเรื่อยๆเช่นถ้าเราใช้เลขฐานสองเ ราก็จะซูมเข้าไปทีละสองเท่าถ้าเราใช้เลขฐานสิบเราก็จะซูมเข้าไปทีละสิบเท่า

เรามาดูจำนวนอตรรกยะกันเราบอกว่าจำนวนบางจำนวนนั่นมีความเป็นอตรรกยะมากจนเราไม่สามารถหาตำเหน่งที่แน่นอนได้ ผมขอยกตัวอย่างที่รู้จักกันดีเช่น ค่าพาย เราลองมาดูกันว่าพายฐานสิบที่เรารู้จักกันนี้มีค่าเท่ากับพายฐานสองหรือไม่ โดยเทียบกับตำเหน่งทศนิยมของพายฐานสิบกับฐานสองในการหาค่าความสัมพันธความห่างของจุดทศนิยมที่เท่ากันถ้าผมสังเกตุไม่ผิดค่าพายจะเปลี่ย นค่าเมื่อเราเปลี่ยนฐาน เราอาจจะบอกว่าเมื่อเรามองไปที่วงกลมเดียวกันแต่กำลังขยายต่างกันมันจะมีความโค้งไม่เท่ากัน หรือความเร่งมีผลกระทบต่อค่าคงที่เช่นพายและจำนวนอตรรกยะอย่างไรซึ่งเราสามารถคำนวนผลกระทบนี้ได้เพื่อชดเชยและทำให้การคำนวนเราแม่นยำย ิ่งขึ้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #34  
Old 19 พฤศจิกายน 2016, 03:03
Thgx0312555's Avatar
Thgx0312555 Thgx0312555 ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 สิงหาคม 2011
ข้อความ: 885
Thgx0312555 is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ tamzz View Post
ผมขอยกตัวอย่างที่เป็นรูปธรรมมากขึ้น เช่นเราอาจจะมองว่าตำเหน่งต่างๆหลังจุุดทศนิยมคืออัตราการขยายเช่นเราคิดว่าแต่ละหลักก็คือการซูมเข้าไปเรื่อยๆเช่นถ้าเราใช้เลขฐานสองเ ราก็จะซูมเข้าไปทีละสองเท่าถ้าเราใช้เลขฐานสิบเราก็จะซูมเข้าไปทีละสิบเท่า

เรามาดูจำนวนอตรรกยะกันเราบอกว่าจำนวนบางจำนวนนั่นมีความเป็นอตรรกยะมากจนเราไม่สามารถหาตำเหน่งที่แน่นอนได้ ผมขอยกตัวอย่างที่รู้จักกันดีเช่น ค่าพาย เราลองมาดูกันว่าพายฐานสิบที่เรารู้จักกันนี้มีค่าเท่ากับพายฐานสองหรือไม่ โดยเทียบกับตำเหน่งทศนิยมของพายฐานสิบกับฐานสองในการหาค่าความสัมพันธความห่างของจุดทศนิยมที่เท่ากันถ้าผมสังเกตุไม่ผิดค่าพายจะเปลี่ย นค่าเมื่อเราเปลี่ยนฐาน เราอาจจะบอกว่าเมื่อเรามองไปที่วงกลมเดียวกันแต่กำลังขยายต่างกันมันจะมีความโค้งไม่เท่ากัน หรือความเร่งมีผลกระทบต่อค่าคงที่เช่นพายและจำนวนอตรรกยะอย่างไรซึ่งเราสามารถคำนวนผลกระทบนี้ได้เพื่อชดเชยและทำให้การคำนวนเราแม่นยำย ิ่งขึ้น
มั่วครับ ไม่มีการใช้หลักการทางคณิตศาสตร์ใดๆทั้งสิ้น
ถ้ายังคิดว่ามันจริงก็ลองเขียนมาเป็น proof สิครับ
__________________
----/---~Alice~ จงรับรู้ไว้ ชื่อแห่งสีสันหนึ่งเดียวที่แสดงผล
---/---- ~Blue~ นี่คือ สีแห่งความหลังอันกว้างใหญ่ของเว็บบอร์ดนี้
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #35  
Old 19 พฤศจิกายน 2016, 09:07
otakung otakung ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไว
 
วันที่สมัครสมาชิก: 19 ตุลาคม 2015
ข้อความ: 238
otakung is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ tamzz View Post
ผมขอยกตัวอย่างที่เป็นรูปธรรมมากขึ้น เช่นเราอาจจะมองว่าตำเหน่งต่างๆหลังจุุดทศนิยมคืออัตราการขยายเช่นเราคิดว่าแต่ละหลักก็คือการซูมเข้าไปเรื่อยๆเช่นถ้าเราใช้เลขฐานสองเ ราก็จะซูมเข้าไปทีละสองเท่าถ้าเราใช้เลขฐานสิบเราก็จะซูมเข้าไปทีละสิบเท่า

เรามาดูจำนวนอตรรกยะกันเราบอกว่าจำนวนบางจำนวนนั่นมีความเป็นอตรรกยะมากจนเราไม่สามารถหาตำเหน่งที่แน่นอนได้ ผมขอยกตัวอย่างที่รู้จักกันดีเช่น ค่าพาย เราลองมาดูกันว่าพายฐานสิบที่เรารู้จักกันนี้มีค่าเท่ากับพายฐานสองหรือไม่ โดยเทียบกับตำเหน่งทศนิยมของพายฐานสิบกับฐานสองในการหาค่าความสัมพันธความห่างของจุดทศนิยมที่เท่ากันถ้าผมสังเกตุไม่ผิดค่าพายจะเปลี่ย นค่าเมื่อเราเปลี่ยนฐาน เราอาจจะบอกว่าเมื่อเรามองไปที่วงกลมเดียวกันแต่กำลังขยายต่างกันมันจะมีความโค้งไม่เท่ากัน หรือความเร่งมีผลกระทบต่อค่าคงที่เช่นพายและจำนวนอตรรกยะอย่างไรซึ่งเราสามารถคำนวนผลกระทบนี้ได้เพื่อชดเชยและทำให้การคำนวนเราแม่นยำย ิ่งขึ้น
แนวคิดน่าสนใจครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #36  
Old 21 พฤศจิกายน 2016, 18:53
tamzz tamzz ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 มิถุนายน 2010
ข้อความ: 92
tamzz is on a distinguished road
Default

โอเคงั้นผมจะลองตั้งข้อสังเกตุดูว่า จำนวนอตรรกยะบางจำนวนมีค่าที่ต่างออกไปเมื่อเปลี่ยนฐานเช่น เรารันอัลกอลิทึ่ม หาค่าพายถ้าเรารันด้วยเลขฐานสิบค่าที่เราเข้าใกล้ไปเรื่อยนั่นจะเป็นคนละค่ากับค่าที่เรารันอัลกอลิทึ่มเดียวกันด้วยเลขฐานสอง

ค่าพายที่เรารูู้ๆกันอยูู่ว่า มีจุดทศนิยมไม่มีที่สิ้นสุดและไม่ซ้ำกัน เราลองเปลี่ยนจุดทศนิยมแต่ละตัวแยกออกมาเป็นการบวกของของอนุกรมเช่น 120 ก็เป็น (1*10^2)+(2*10^1)+(0*10^0)
ใช้วิธีแบบนี้เปลี่ยนค่าพายเป็นอนุกรมไม่มีที่สิ้นสุด สองจำนวนอนุกรมแรกแทนฐานสิบ อนุกรมที่สองแทนฐานสอง ถ้าเอาอนุกรมที่สองมาเทียบอนุกรมแรกเราน่าจะพบอะไรที่น่าสนใจ

ผมไม่ได้เรียนทางคณิตมาโดยตรงเลยไม่ค่อยเข้าใจว่าการพิสูจน์มีขั้นตอนยังไงบ้างแต่ขอเริ่มจากตรงนี้ก่อนก็แล้วกัน ผมคิดว่าถ้าเราเอาอนุกรมสองอันมาเทียบมันจะไม่เท่ากัน
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #37  
Old 21 พฤศจิกายน 2016, 21:15
Thgx0312555's Avatar
Thgx0312555 Thgx0312555 ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 สิงหาคม 2011
ข้อความ: 885
Thgx0312555 is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ tamzz View Post
โอเคงั้นผมจะลองตั้งข้อสังเกตุดูว่า จำนวนอตรรกยะบางจำนวนมีค่าที่ต่างออกไปเมื่อเปลี่ยนฐานเช่น เรารันอัลกอลิทึ่ม หาค่าพายถ้าเรารันด้วยเลขฐานสิบค่าที่เราเข้าใกล้ไปเรื่อยนั่นจะเป็นคนละค่ากับค่าที่เรารันอัลกอลิทึ่มเดียวกันด้วยเลขฐานสอง

ค่าพายที่เรารูู้ๆกันอยูู่ว่า มีจุดทศนิยมไม่มีที่สิ้นสุดและไม่ซ้ำกัน เราลองเปลี่ยนจุดทศนิยมแต่ละตัวแยกออกมาเป็นการบวกของของอนุกรมเช่น 120 ก็เป็น (1*10^2)+(2*10^1)+(0*10^0)
ใช้วิธีแบบนี้เปลี่ยนค่าพายเป็นอนุกรมไม่มีที่สิ้นสุด สองจำนวนอนุกรมแรกแทนฐานสิบ อนุกรมที่สองแทนฐานสอง ถ้าเอาอนุกรมที่สองมาเทียบอนุกรมแรกเราน่าจะพบอะไรที่น่าสนใจ

ผมไม่ได้เรียนทางคณิตมาโดยตรงเลยไม่ค่อยเข้าใจว่าการพิสูจน์มีขั้นตอนยังไงบ้างแต่ขอเริ่มจากตรงนี้ก่อนก็แล้วกัน ผมคิดว่าถ้าเราเอาอนุกรมสองอันมาเทียบมันจะไม่เท่ากัน
ในทางคณิต ตราบใดที่ยังไม่พิสูจน์มันก็ยังเป็นแค่ข้อสังเกตครับ
ดังนั้นการที่แค่สังเกตแล้วมาบอกว่ามันจริง อย่างนั้นเรียกว่า "มั่ว" ครับ

จริงๆ วิชาคณิตมันเป็นวิชาที่ใช้ฟิสิกส์มาทำไม่ได้ กล่าวคือเวลามองคณิตเราจะมองแบบฟิสิกส์ไม่ได้
(เพราะคณิตมันไม่ใช่โลกความจริงแต่ฟิสิกส์เป็นโลกความจริง เนื่องจากคณิตศาสตร์ถูกสร้างมาโดยกฎเกณฑ์ที่ตายตัวอยู่แล้ว)

บังเอิญว่าข้อสังเกตคุณมันไม่จริงด้วยแหละ ว่าจำนวนอตรรกยะในแต่ละฐานไม่เท่ากัน

จำนวนอตรรกยะแต่ละจำนวนมันเป็นค่าคงที่อยู่แล้ว การเขียนอยู่ในรูปเลขฐานเป็นแค่การแสดงค่าของจำนวนนั้นออกมาให้เราเข้าใจเฉยๆ (ซึ่งมันก็ไม่ใช่วิธีเขียนที่ perfect นะ อย่างจำนวนบางจำนวนสามารถเขียนในเลขฐานสิบได้มากกว่าหนึ่งวิธี เช่นการที่ 2 และ 1.9999... เป็นจำนวนเดียวกัน เป็นต้น) ///เป็นจำนวนเดียวกันนะ แค่เขียนได้หลายแบบ

ยังไงถ้าว่างๆลองกดเครื่องคิดเลขดูก็ได้ครับ แปลงจำนวนอตรรกยะทศนิยมหลายจุดๆออกมาเป็นฐานสิบ แล้วดูว่าค่าเท่ากันไหม
__________________
----/---~Alice~ จงรับรู้ไว้ ชื่อแห่งสีสันหนึ่งเดียวที่แสดงผล
---/---- ~Blue~ นี่คือ สีแห่งความหลังอันกว้างใหญ่ของเว็บบอร์ดนี้
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #38  
Old 23 พฤศจิกายน 2016, 22:51
kongp kongp ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 05 พฤษภาคม 2006
ข้อความ: 1,127
kongp is on a distinguished road
Default

มั่วไม่มั่ว ผมอยากให้นักคณิตศาสตร์ที่สนใจเรื่องนี้ ดูปลากระสูบจุดในวีดีโอนี้ จุดตัดคิดว่าคือปื้นดำตรงกลางลำตัวของปลา นี่แหละครับความสำคัญของคณิตศาสตร์อันหนึ่ง ในโลกแห่งความเป็นจริง

https://www.youtube.com/watch?v=w9PJ229R8XM

เราๆ ลุย Driving อย่างฝรั่งไหวไหมนะ !
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 10:14


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha