Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย > ข้อสอบในโรงเรียน ม.ปลาย
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #16  
Old 01 มิถุนายน 2013, 15:14
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

ข้อ1 ตอน 2
หา ครน.ของ 65 กับ 75 คือ 975
ปีถัดไปที่จานบินกับดาวหางมาผ่านโลกพร้อมกันคือ $1986+975=2961$
รูปภาพที่แนบมาด้วย
 
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #17  
Old 01 มิถุนายน 2013, 15:45
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

ข้อ1.ให้ $p$ แทนประพจน์ "นักเรียนเข้าใจเนื้อหา"
$q$ แทนประพจน์ "นักเรียนมีความพยายาม"
$r$ แทนประพจน์ "นักเรียนจะสอบผ่าน"
$(p\wedge q )\rightarrow r$
จาก $p\rightarrow q \equiv \sim q\rightarrow \sim p$
$(p\wedge q )\rightarrow r \equiv \sim r\rightarrow \sim (p\wedge q )\equiv \sim r\rightarrow (\sim p \vee \sim q )$
จาก $p\rightarrow q \equiv \sim p \vee q$
$(p \wedge q )\rightarrow r \equiv (\sim p \vee \sim q )\vee r$
พิจารณาตัวเลือก
1.$\sim r\rightarrow (\sim p \vee \sim q)$
2.$(\sim p \vee \sim q)\rightarrow \sim r$
3.$(p\wedge \sim r)\rightarrow \sim q$
4.$(q \wedge \sim r)\rightarrow \sim p $
5.$r\vee \sim p\vee \sim q$

ข้อที่ไม่สมมูลคือข้อ 2
รูปภาพที่แนบมาด้วย
 
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)

01 มิถุนายน 2013 16:04 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ กิตติ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #18  
Old 01 มิถุนายน 2013, 16:22
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

ข้อ2
ตัวเลือก 1. $\frac{1}{x+1}\geqslant 0\rightarrow x+1\geqslant 0 \rightarrow x\geqslant -1$ และ $x\not= -1$
ดังนั้น $x>-1$

ตัวเลือก 2. $\frac{x-1}{x^2-1} \geqslant 0$ และ $x\not= \pm 1$
$(x-1)(x^2-1)\geqslant 0 \rightarrow (x-1)^2(x+1)\geqslant 0 \rightarrow (x+1)\geqslant 0$
ดังนั้น $(-1,\infty ) -\left\{\,1\right\}$

ตัวเลือก 3. $\frac{x+1}{(x-1)^2} \geqslant 0$ และ $x\not= 1$
$(x-1)^2(x+1)\geqslant 0\rightarrow (x+1)\geqslant 0$
ดังนั้น $\left[\,-1\right. ,\infty ) -\left\{\,1\right\} $

ตัวเลือก 4.$\frac{(x-1)^2}{x+1} \geqslant 0$
เนื่องจาก $(x-1)^2 \geqslant 0$ ดังนั้น $\frac{1}{x+1}\geqslant 0$

ตัวเลือก 5. $\sqrt{(x+1)^2} \geqslant 0\rightarrow \left|\,x+1\right| \geqslant 0$
เป็นจริงสำหรับทุกค่าของ $x$

ตอบตัวเลือกที่ 4
รูปภาพที่แนบมาด้วย
 
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)

01 มิถุนายน 2013 16:23 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ กิตติ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #19  
Old 05 มิถุนายน 2013, 06:49
pogpagasd pogpagasd ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าหยก
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 พฤศจิกายน 2012
ข้อความ: 174
pogpagasd is on a distinguished road
Default

ขอข้อ 16,17 ด้วยครับใจมากๆๆ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #20  
Old 05 มิถุนายน 2013, 16:17
lek2554's Avatar
lek2554 lek2554 ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 07 กันยายน 2010
ข้อความ: 1,035
lek2554 is on a distinguished road
Default

Name:  มอ56 16.JPG
Views: 1012
Size:  75.3 KB

Name:  มอ56 16 ans.JPG
Views: 1004
Size:  40.6 KB
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #21  
Old 12 มิถุนายน 2013, 07:23
jabza's Avatar
jabza jabza ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 02 สิงหาคม 2005
ข้อความ: 544
jabza is on a distinguished road
Default

ใครที่เก่งช่วยกรุณาเฉลยข้อ6 ตอนที่1 เรื่องฟังก์ชั่นเลื่อนกราฟ.
__________________
จะขอทำฝัน....ให้ใกล้เคียงความจริงที่สุด

เด็กน้อย ค่อยๆ เรียนรู้ สินะ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #22  
Old 12 มิถุนายน 2013, 07:32
jabza's Avatar
jabza jabza ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 02 สิงหาคม 2005
ข้อความ: 544
jabza is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ jabza View Post
ใครที่เก่งช่วยกรุณาเฉลยข้อ6 ตอนที่1 เรื่องฟังก์ชั่นเลื่อนกราฟ.
ผมเดาตอบ=6
__________________
จะขอทำฝัน....ให้ใกล้เคียงความจริงที่สุด

เด็กน้อย ค่อยๆ เรียนรู้ สินะ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #23  
Old 12 มิถุนายน 2013, 14:00
gon's Avatar
gon gon ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎขั้นสูง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 มีนาคม 2001
ข้อความ: 4,608
gon is on a distinguished road
Cool

ข้อ 6. ตอนที่ 1.

จากรูป จะได้ $f(1) = 0$ และ $f(4) = 1$

โจทย์กำหนดให้ $g(x) = f^{-1}(x)$

ดังนั้น $g(0) = f^{-1}(0) = 1$ และ $g(1) = f^{-1}(1) = 4$

โจทย์ยังกำหนดให้ $h(x) = g(x-1) + 1$

ดังนั้น $h(2) = g(1) + 1 = 4 + 1 = 5$

สมมติให้ $h^{-1}(2) = A$ จะได้ $h(A) = 2 \iff g(A-1) + 1 = 2 \iff g(A-1) = 1 \Rightarrow A - 1 = 0 \Rightarrow A = 1 = h^{-1}(2)$

ดังนั้น $h(2) + h^{-1}(2) = 5 + 1$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #24  
Old 02 สิงหาคม 2013, 15:17
pen pen ไม่อยู่ในระบบ
เริ่มฝึกวรยุทธ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 21 มิถุนายน 2008
ข้อความ: 15
pen is on a distinguished road
Default

ข้อ 4 ตอน 2
จาก $8^\frac{1}{x}=36^\frac{1}{z}$ และ $27^\frac{1}{y}=36^\frac{1}{z}$
ได้ $8=36^\frac{x}{z}$ และ $27=36^\frac{y}{z}$
ได้ $8\cdot 27=36^\frac{x}{z}\cdot 36^\frac{y}{z}$
ได้ $216=36^\frac{x+y}{z}$
ได้ $6^3=6^{2\frac{x+y}{z}}$
ได้ $\frac{x+y}{z}=\frac{3}{2}$
รูปภาพที่แนบมาด้วย
 
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #25  
Old 02 สิงหาคม 2013, 15:22
pen pen ไม่อยู่ในระบบ
เริ่มฝึกวรยุทธ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 21 มิถุนายน 2008
ข้อความ: 15
pen is on a distinguished road
Default

ข้อ 10 ตอน 1
$cos\theta =0$
น่าจะได้ $\theta =-\frac{\pi }{2} $ กับ $\frac{\pi }{2}$ มั๊ยคะ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #26  
Old 02 สิงหาคม 2013, 15:44
pen pen ไม่อยู่ในระบบ
เริ่มฝึกวรยุทธ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 21 มิถุนายน 2008
ข้อความ: 15
pen is on a distinguished road
Default

จากโจทย์จะได้ $2x_n=x_{n-1}+x_{n+1}$
จะได้ $x_n-x_{n-1}=x_{n+1}-x_n$
สรุปว่า เป็นลำดับเลขคณิต
จะได้ $x_{101}=x_1+100d$ เมื่อ $d$ เป็นผลต่างร่วม
แก้สมการได้ $d=10$
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตคือ $\frac{S_n}{n}$ $=$ $\frac{n\frac{x_1+x_n}{2} }{n}$ $=$ $\frac{x_1+x_n}{2}$
ซึ่งในที่นี้ ค่าเฉลี่ยเลขคณิตจะได้เป็น $\frac{x_1+x_{111}}{2} = x_{56}=x_1+55(10)=561$
รูปภาพที่แนบมาด้วย
 
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #27  
Old 02 สิงหาคม 2013, 15:52
pen pen ไม่อยู่ในระบบ
เริ่มฝึกวรยุทธ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 21 มิถุนายน 2008
ข้อความ: 15
pen is on a distinguished road
Default

ตอน 2 ข้อ 8
ถ้า $a^2-12=-3$ และ $a+7\not= 4$ สมการจะขัดแย้งกันเองซึ่งสรุปว่าไม่มีคำตอบ
$a=\pm 3$ ใช้ $a=3$
รูปภาพที่แนบมาด้วย
 
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #28  
Old 03 สิงหาคม 2013, 00:18
pen pen ไม่อยู่ในระบบ
เริ่มฝึกวรยุทธ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 21 มิถุนายน 2008
ข้อความ: 15
pen is on a distinguished road
Default

ข้อ 4 ตอนที่ 1
$det(adj(A))=(det(A))^{n-1}$
ในที่นี้ $det(adj(A))=(det(A))^3$
คิด $det(A)$ จากหลักที่ 1
$det(A)=0\cdot C_{11}(A)+0\cdot C_{21}(A)+1\cdot C_{31}(A)+2\cdot C_{41}(A)$
$=0+0+0+(-2)=-2$
$det(adj(A))=(det(A))^3=(-2)^3=-8$
รูปภาพที่แนบมาด้วย
 
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #29  
Old 03 สิงหาคม 2013, 18:37
lek2554's Avatar
lek2554 lek2554 ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 07 กันยายน 2010
ข้อความ: 1,035
lek2554 is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ กิตติ View Post
10.$\sin 2\theta -2\cos \theta-\cot \theta=0$ และ $\sin \theta\not= 0$
$2\sin \theta \cos \theta-2\cos \theta-\frac{\cos \theta}{\sin \theta} =0$
$2\sin^2 \theta \cos \theta-2\cos \theta \sin \theta-\cos \theta=0$
$\cos \theta\left(\,2\sin^2\theta -2 \sin \theta-1\right)=0$
$\cos \theta=0$ หรือ $2\sin^2 \theta-2 \sin \theta-1=0$
สมการนี้มีค่า $\sin \theta=\frac{1\pm \sqrt{3} }{2} $ มีค่าที่ใช้ได้คือ $\sin \theta=\frac{1- \sqrt{3} }{2}$
ดังนั้นเหลือคำตอบคือ $\cos \theta=0 \rightarrow \theta=\pi $ กับ $\sin \theta=\frac{1- \sqrt{3} }{2}$
ทั้งหมด 2 ค่า
01 มิถุนายน 2013 คุณหมอทำโจทย์ตั้งแต่ 11:37 พอมาถึง 14:44 เลยเบลอครับ

$\theta =-\frac{\pi }{2} ,\frac{\pi }{2}$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #30  
Old 03 สิงหาคม 2013, 18:39
pen pen ไม่อยู่ในระบบ
เริ่มฝึกวรยุทธ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 21 มิถุนายน 2008
ข้อความ: 15
pen is on a distinguished road
Default

ข้อ 5 ตอนที่ 1
พิจารณา $r_1$ เงื่อนไข $\left|\,x-2\right|\leqslant 1$
จะได้ $-1\leqslant x-2\leqslant 1$
จะได้ $1\leqslant x\leqslant 3$ นั่นคือ $r_1$ เป็นพื้นที่บริเวณ $1\leqslant x\leqslant 3$ โดย $y$ เป็นจำนวนจริง
พิจารณา $r_2$ เงื่อนไข $0\leqslant y\leqslant \sqrt{-x^2+2x}$
จะได้ $y\geqslant 0$ และ $y\leqslant \sqrt{-x^2+2x}$
$y\geqslant 0$ และ $y^2\leqslant -x^2+2x$
$y\geqslant 0$ และ $y^2+x^2-2x+1\leqslant 1$
$y\geqslant 0$ และ $\left(\,x-1\right)^2+y^2\leqslant 1$
นั่นคือ $r_2$ เป็นพื้นที่บริเวณในวงกลมจุดศูนย์กลาง $(1,0)$ รัศมี $1$ หน่วย (รวมจุดบนเส้นรอบวง) เฉพาะส่วน $y\geqslant 0$
ดังนั้นบริเวณ $r_1\cap r_2$ เป็นดังรูป พื้นที่เท่ากับ $\frac{1}{4} \pi (1)^2$
รูปภาพที่แนบมาด้วย
   
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply


หัวข้อคล้ายคลึงกัน
หัวข้อ ผู้ตั้งหัวข้อ ห้อง คำตอบ ข้อความล่าสุด
ข้อสอบเตรียมอุดมศึกษา ปี 2556 Hero13 ข้อสอบในโรงเรียน ม.ต้น 44 13 สิงหาคม 2014 04:07
หมายกำหนดการสอบแข่งขัน เพชรยอดมงกุฏปี 2556 PoomVios45 ข่าวคราวแวดวงประถม ปลาย 1 24 พฤษภาคม 2013 11:47
TMC ประถม 5 ครั้งที่ 3 สอบ 10 ก.พ. 2556 banker ข้อสอบในโรงเรียน ประถมปลาย 54 14 เมษายน 2013 20:42
ข้อสอบรับตรง มข. คณิต ปีการศึกษา 2556 กิตติ ข้อสอบในโรงเรียน ม.ปลาย 3 09 เมษายน 2013 06:19
อาจารย์อรรณพ ได้ถึงแก่กรรมกระทันหันใน วันที่ 26 มีนาคม 2556 banker ฟรีสไตล์ 1 27 มีนาคม 2013 10:00


กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 18:09


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha