Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > ทฤษฎีจำนวน
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 04 ตุลาคม 2012, 21:23
MIN+ MIN+ ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 กุมภาพันธ์ 2012
ข้อความ: 75
MIN+ is on a distinguished road
Default ช่วยพิสูจน์ด้วยครับ

<img src="http://www.mathcenter.net/forum/attachment.php?attachmentid=10621&stc=1&d=1349360382">
รูปภาพที่แนบมาด้วย
 
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 05 ตุลาคม 2012, 02:50
Keehlzver's Avatar
Keehlzver Keehlzver ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 26 มกราคม 2009
ข้อความ: 533
Keehlzver is on a distinguished road
Default

1. $n$ ต้องเป็นจำนวนเต็มบวกที่หาร 24 ลงครับ
2.ถ้า $a$ เป็นจำนวนเต็มบวก $a$ สามารถเขียนได้ในรูปของ $3k,3k+1,3k+2$
3.มีของอยุ่ $3n$ ชิ้น ของซ้ำกันทุกๆ 3 ชิ้น จำนวนวิธีในการเรียงสับเปลี่ยนเป็นเส้นตรงของของทั้ง $3n$ ชิ้นย่อมทำได้
$\frac{(3n)!}{3!...3!}=\frac{(3n)!}{(3!)^n}$ ซึ่งเป็นจำนวนเต็มบวก
4.มีเฉลยอยู่แล้วในกระทู้เก่าๆ เขียน $a,b$ ให้อยู่ในรูปแบบบัญญัติครับ
__________________
"ชั่วโมงหน้าต้องดีกว่าเดิม!"
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 01 พฤศจิกายน 2012, 10:32
PP_nine's Avatar
PP_nine PP_nine ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 เมษายน 2010
ข้อความ: 607
PP_nine is on a distinguished road
Default

#2

ข้อ 1 ต้องเป็น $n-3$ หาร $24$ ลงตัวนะครับ

แนวคิดมาจาก $n-3|n^3-27$ เสมอ

ดังนั้น ถ้า $n-3|n^3-3$ ด้วยแล้ว ทำให้ $n-3|24$

(ลืมบอกไปเลย อย่าลืมตัวติดลบด้วยนะครับ เห็นโจทย์ถามจำนวนเต็มเฉยๆ)


ส่วนข้อสามจะใช้ Induction ก็ได้ครับ น่าจะเหมาะกับเนื้อหาค่าย 1 พอดี
__________________
keep your way.

01 พฤศจิกายน 2012 10:35 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ PP_nine
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 01 พฤศจิกายน 2012, 11:30
ปากกาเซียน's Avatar
ปากกาเซียน ปากกาเซียน ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไว
 
วันที่สมัครสมาชิก: 09 กันยายน 2011
ข้อความ: 227
ปากกาเซียน is on a distinguished road
Default

ข้อ4 ใช้ ctd ก็ได้ครับ
__________________
I'm god of mathematics.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 01 พฤศจิกายน 2012, 15:19
lnพwsะบุ๑sสุ๑xล่o's Avatar
lnพwsะบุ๑sสุ๑xล่o lnพwsะบุ๑sสุ๑xล่o ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 16 ตุลาคม 2012
ข้อความ: 782
lnพwsะบุ๑sสุ๑xล่o is on a distinguished road
Default

ที่มาของข้อความข้างต้นครับ
$\frac{n^3-3}{n-3} $
$=\frac{(n^3-3n^2+9n-27)+(3n^2-9n+24)}{n-3} $
$=(n-2)^2+\frac{3[(n-3)^2+3n-1)}{n-3} $
$=(n-2)^2+3(n-3)+\frac{9n-3}{n-3} $
$=(n-2)^2+3(n+3)+9+\frac{24}{n-3} $

หารลงตัวแสดงว่า
$(n-2)^2+3(n+3)+9+\frac{24}{n-3} \in \mathbf{Z} $

$n-3$l$24$

02 พฤศจิกายน 2012 22:42 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ lnพwsะบุ๑sสุ๑xล่o
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 01 พฤศจิกายน 2012, 15:23
lnพwsะบุ๑sสุ๑xล่o's Avatar
lnพwsะบุ๑sสุ๑xล่o lnพwsะบุ๑sสุ๑xล่o ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 16 ตุลาคม 2012
ข้อความ: 782
lnพwsะบุ๑sสุ๑xล่o is on a distinguished road
Default

2.
$C1:a\equiv 0(mod3)$
$a(2a^2+7)\equiv 0(mod3)$
$C2:a\equiv 1(mod3)$
$a(2a^2+7)\equiv 0(mod3)$
$C3:a\equiv 2(mod3)$
$a(2a^2+7)\equiv 0(mod3)$
$C4:a\equiv 3(mod3)$
$a(2a^2+7)\equiv 0(mod3)$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 01 พฤศจิกายน 2012, 21:17
Keehlzver's Avatar
Keehlzver Keehlzver ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 26 มกราคม 2009
ข้อความ: 533
Keehlzver is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ PP_nine View Post
#2

ข้อ 1 ต้องเป็น $n-3$ หาร $24$ ลงตัวนะครับ

แนวคิดมาจาก $n-3|n^3-27$ เสมอ

ดังนั้น ถ้า $n-3|n^3-3$ ด้วยแล้ว ทำให้ $n-3|24$

(ลืมบอกไปเลย อย่าลืมตัวติดลบด้วยนะครับ เห็นโจทย์ถามจำนวนเต็มเฉยๆ)


ส่วนข้อสามจะใช้ Induction ก็ได้ครับ น่าจะเหมาะกับเนื้อหาค่าย 1 พอดี
ขอบคุณครับ พิมพ์ผิดไปเป็น $n$ ซะได้

หายหน้าหายตาไปนานเลยนะครับ PP
__________________
"ชั่วโมงหน้าต้องดีกว่าเดิม!"
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 02 พฤศจิกายน 2012, 01:33
Euler-Fermat's Avatar
Euler-Fermat Euler-Fermat ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 ตุลาคม 2011
ข้อความ: 448
Euler-Fermat is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ lnพwsะบุ๑sสุ๑xล่o View Post
ที่มาของข้อความข้างต้นครับ
$\frac{n^3-3}{n-3} $
$=\frac{(n^3-3n^2+9n-27)+(3n^2-9n+24)}{n-3} $
$=(n-2)^2+\frac{3[(n-3)^2+3n-1)}{n-3} $
$=(n-2)^2+3(n-3)+\frac{9n-3}{n-3} $
$=(n-2)^2+3(n+3)+9+\frac{24}{n-3} $

หารลงตัวแสดงว่า
$(n-2)^2+3(n+3)+9+\frac{24}{n-3} \in \mathbf{Z} $

$24\mid n-3$
ควรจะ เป็น $n-3\mid 24$ มากกว่านะครับ

02 พฤศจิกายน 2012 01:34 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 3 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Euler-Fermat
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #9  
Old 02 พฤศจิกายน 2012, 22:42
lnพwsะบุ๑sสุ๑xล่o's Avatar
lnพwsะบุ๑sสุ๑xล่o lnพwsะบุ๑sสุ๑xล่o ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 16 ตุลาคม 2012
ข้อความ: 782
lnพwsะบุ๑sสุ๑xล่o is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Euler-Fermat View Post
ควรจะ เป็น $n-3\mid 24$ มากกว่านะครับ
แก้ละครับ ขอบคุณที่ช่วยดูให้ครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 23:23


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha