Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์ทั่วไป > บทความคณิตศาสตร์ทั่วไป
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 13 พฤศจิกายน 2017, 17:05
Panithi Vanasirikul's Avatar
Panithi Vanasirikul Panithi Vanasirikul ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 06 พฤศจิกายน 2013
ข้อความ: 346
Panithi Vanasirikul is on a distinguished road
Default Pigeonhole Principle: Alternate Proof?

อยากรู้ว่า หลักรังนกพิราบนี่พิสูจน์เเบบอื่นนอกจาก contradictionได้มั้ยครับ
__________________
Mathematics is not about finding X but finding whY.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 13 พฤศจิกายน 2017, 20:50
NaPrai's Avatar
NaPrai NaPrai ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าหยก
 
วันที่สมัครสมาชิก: 02 กุมภาพันธ์ 2017
ข้อความ: 174
NaPrai is on a distinguished road
Default

ใช้การอุปนัยเชิงคณิตศาสตร์ก็ได้ครับ โดยอุปนัยบนจำนวนรังของนกพิราบ เพื่อความสะดวกต่อไปนี้จะให้มีนก $b$ ตัว และรัง $n$ รัง
ให้ $P(n)$ แทนข้อความ "มีนก $b$ ตัว รัง $n$ รัง จะมีอย่างน้อย $1$ รัง ที่มีนกอย่างน้อย $\left\lceil\frac{b}{n}\right\rceil ตัว$" สำหรับ $n \in \mathbb{N}$
ขั้นฐาน $n=1$ ก็ค่อนข้างชัดเจนครับว่านกทุกตัวย่อมอยู่บนรังเดียวกัน นั่นคือ มีอย่างน้อย $1$ รัง ที่มีนก $b=\left\lceil\frac{b}{n}\right\rceil ตัว$
ขั้นอุปนัย สมมติว่า $P(k)$ เป็นจริง พิจารณาสำหรับ $k+1$ รัง
$\ \ \ \ \ \ \ \ \ \ \ \ $กรณี $1$ รังที่ 1 มีนกอย่างน้อย $\left\lceil\frac{b}{k+1}\right\rceil ตัว$ ก็ได้เลยว่า $P(k+1)$ เป็นจริงเลยครับ
$\ \ \ \ \ \ \ \ \ \ \ \ $กรณี $2$ รังที่ 1 มีนกอย่างมาก $\left\lceil\frac{b}{k+1}\right\rceil-1 $ ตัว จะได้ว่าเหลือนก $\ge b-(\left\lceil\frac{b}{k+1}\right\rceil -1)=b+1-\left\lceil\frac{b}{k+1}\right\rceil $ และรังอีก $k$ รัง
โดย $P(k)$ เป็นจริง จะได้ว่ามีอย่างน้อย 1 รัง ที่มีนกอย่างน้อย $\left\lceil\frac{b+1-\left\lceil\frac{b}{k+1}\right\rceil }{k}\right\rceil $ ตัว
ให้ $b=(k+1)q-r$ โดยที่ $q$ เป็นจำนวนเต็มบวก และ $r$ เป็นจำนวนเต็มบวกที่มีค่าตั้งแต่ $0$ ถึง $k$ จะได้ว่า
\begin{align}\left\lceil\frac{b+1-\left\lceil\frac{b}{k+1}\right\rceil }{k}\right\rceil &=\left\lceil\frac{(k+1)q-r+1-q}{k}\right\rceil\\&=\left\lceil\frac{kq+1-r}{k}\right\rceil \\&= q\\&=\left\lceil\frac{b}{k+1}\right\rceil\end{align}
ดังนั้น $P(k+1)$ เป็นจริง

จบการพิสูจน์ครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply


หัวข้อคล้ายคลึงกัน
หัวข้อ ผู้ตั้งหัวข้อ ห้อง คำตอบ ข้อความล่าสุด
Pigeonhole Pain 7th คอมบินาทอริก 11 11 กันยายน 2012 13:25
pigeonhole principle ครับ extreme111 คอมบินาทอริก 6 26 มีนาคม 2012 16:52
Well ordering principle Siren-Of-Step ทฤษฎีจำนวน 3 12 เมษายน 2010 19:11
ข้อสอบ Principle Math ครูนะ คณิตศาสตร์อุดมศึกษา 2 16 มีนาคม 2009 05:47
The Pigeonhole Principle Tony ปัญหาคณิตศาสตร์ทั่วไป 9 08 เมษายน 2005 22:38


กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 17:46


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha