Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > Calculus and Analysis
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 17 กรกฎาคม 2011, 14:45
Yuka Yuka ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 02 กรกฎาคม 2011
ข้อความ: 38
Yuka is on a distinguished road
Default อินทิเกรตไม่ออก ขอช่วยหน่อยครับ และขอถามเรื่องthe identity

1.ขอช่วยทำโจทย์นี้ให้หน่อยครับ
ผมอินทิเกรตเท่าไหร่ก็ไม่ออกสักกะที
(ช่วยแสดงวิธีทำอย่างละเอียดหน่อยนะครับ)


$$r\int_0^1 \frac{1-x}{1-rx}dx=1+( \frac{1-r}{r})ln(1-r)$$




2. การใช้ the identity

$$\frac{1}{A}=\int_0^\infty e^{-Ax} dx เมื่อA>0 $$

มันเป็นidentityของอะไรครับ คุณสมบัติอะไร

จะพิสูจน์ว่าเอกลักษณ์นี้มันจริงได้อย่างไรครับ




ขอขอบคุณล่วงหน้าครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 17 กรกฎาคม 2011, 15:35
Real Matrik's Avatar
Real Matrik Real Matrik ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 พฤษภาคม 2011
ข้อความ: 386
Real Matrik is on a distinguished road
Default

ข้อ 1

ข้อ 2

ไม่เข้าใจว่าข้อ 2 ทำไมถึงกำหนดเฉพาะ $A>0$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 17 กรกฎาคม 2011, 17:05
Yuka Yuka ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 02 กรกฎาคม 2011
ข้อความ: 38
Yuka is on a distinguished road
Default

ขอบคุณครับคุณReal Matrik ช่วยทำให้อีกแล้ว

ข้อที่1

การจัดรูป แล้วหาค่าอินทิเกรต ของคุณ สุดยอดมากเลย


ขอถามหน่อยครับ
บรรทัดแรก $\frac{1-x}{1-rx}= \frac{1}{r} \times \frac{r-rx}{1-rx}$ การทำอย่างนี้ได้เขาเรียกว่าใช้คุณสมบัติอะไรครับ รู้ว่ามันเท่ากัน แต่ใช้อะไรเอ่ย


เวลาสอบเจอโจทย์อย่างงี้ ผมต้องตายแหงๆกับการจัดรูปแล้วหาค่า มีอะไรจะพอแนะนำบ้างครับกับการจัดรูปอย่างงี้(คิดไม่ถึง)



วิธีทำข้อ1.ตั้งแต่บรรทัดที่3นับจากล่าง คุณReal Matrik ทำไม่ถูกอะครับ

มันต้องได้ $\frac{r-1}{r}$ ไม่ใช่ $\frac{r-1}{r^2}$ ครับ





ข้อ2 มันต้องเป็น identity ของอะไรสักอย่าง ถึงได้กำหนดอย่างนั้น

ใครทราบช่วยบอกกระผมหน่อย


ขอบคุณอีกครั้งนะครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 17 กรกฎาคม 2011, 18:07
Real Matrik's Avatar
Real Matrik Real Matrik ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 พฤษภาคม 2011
ข้อความ: 386
Real Matrik is on a distinguished road
Default

ขอบคุณครับ (จริงๆแล้วธรรมดาครับ )

เวลาเจออย่างนี้ ความคิดแรกของผมคือการทำให้ตัวส่วนเป็นค่าคงที่ครับ (แล้วมันจะออกทันที่)

ส่วนที่เป็น $\frac{r-1}{r^2}$ เพราะผมคูณ $r$ เข้าตรง $dx$ เลยกลายเป็น $d(rx)$ ครับ (คูณเข้าต้องถอนออก )

ผมมีหนังสือเล่มนึงแนะนำ สนใจมั้ยครับ จำได้ว่าพี่ nooonuii เคยแนะนำ (ขายแข่งกะพี่กร )

หน้าปก

ปล. สนใจติดต่อทาง pm ครับ

17 กรกฎาคม 2011 18:08 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Real Matrik
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 17 กรกฎาคม 2011, 18:56
PP_nine's Avatar
PP_nine PP_nine ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 เมษายน 2010
ข้อความ: 607
PP_nine is on a distinguished road
Default

ข้อสองถ้า A<0 อินทิเกรตก็ลู่ออกสิครับ
__________________
keep your way.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 17 กรกฎาคม 2011, 19:09
Real Matrik's Avatar
Real Matrik Real Matrik ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 พฤษภาคม 2011
ข้อความ: 386
Real Matrik is on a distinguished road
Default

ตามวิธีทางพีชคณิต ผมมองไม่ออกเลยว่า $A<0$ ไม่ได้ (สงสัยยังเรียนมาไม่พอ )
แต่ถ้าดูจากกราฟนี่ชัดเจนครับว่าลู่ออก
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 17 กรกฎาคม 2011, 21:58
PP_nine's Avatar
PP_nine PP_nine ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 เมษายน 2010
ข้อความ: 607
PP_nine is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Real Matrik View Post
ตามวิธีทางพีชคณิต ผมมองไม่ออกเลยว่า $A<0$ ไม่ได้ (สงสัยยังเรียนมาไม่พอ )
แต่ถ้าดูจากกราฟนี่ชัดเจนครับว่าลู่ออก
สมมติ a>0 หาค่า $\int_{0}^{\infty} e^{ax}\,dx $ ได้ดังนี้

$$\int_{0}^{\infty} e^{ax}\,dx = \frac{1}{a} \int_{0}^{\infty} e^{ax}\,d(ax) = \frac{1}{a} \left[\,e^{ax}\right]_{x=0}^{\infty} $$

พจน์สุดท้ายนี่ก็น่าจะชัดเจนแล้วนะครับ
__________________
keep your way.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 17 กรกฎาคม 2011, 22:12
Real Matrik's Avatar
Real Matrik Real Matrik ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 พฤษภาคม 2011
ข้อความ: 386
Real Matrik is on a distinguished road
Default

ขอบคุณครับ

ผมสะเพร่าเองครับตรงขั้นตอนนี้

$$[-\frac{e^{-Ax}}{A}]^{\infty}_0=\frac{e^{-\infty}}{A}-(-\frac{e^0}{A})$$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #9  
Old 18 กรกฎาคม 2011, 01:17
Yuka Yuka ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 02 กรกฎาคม 2011
ข้อความ: 38
Yuka is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ PP_nine View Post
สมมติ a>0 หาค่า $\int_{0}^{\infty} e^{ax}\,dx $ ได้ดังนี้

$$\int_{0}^{\infty} e^{ax}\,dx = \frac{1}{a} \int_{0}^{\infty} e^{ax}\,d(ax) = \frac{1}{a} \left[\,e^{ax}\right]_{x=0}^{\infty} $$

พจน์สุดท้ายนี่ก็น่าจะชัดเจนแล้วนะครับ
ไม่ใช่สมมติว่าA<0 เหรอคับ เพราะจากโจทย์ค่าAที่ติดลบอยู่ เมื่อA<0 ค่า A ก็จะเป็นบวก
ทำให้เวลาแทนค่าจะได้ว่าลู่ออก

แล้วตกลงมันเป็น identity ของอะไรครับ

ขอบคุณสำหรับคำแนะนำนะครับคุณPP_nine และคุณReal Matrik

18 กรกฎาคม 2011 01:17 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Yuka
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #10  
Old 18 กรกฎาคม 2011, 01:52
Yuka Yuka ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 02 กรกฎาคม 2011
ข้อความ: 38
Yuka is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Real Matrik View Post
ขอบคุณครับ (จริงๆแล้วธรรมดาครับ )

เวลาเจออย่างนี้ ความคิดแรกของผมคือการทำให้ตัวส่วนเป็นค่าคงที่ครับ (แล้วมันจะออกทันที่)

ส่วนที่เป็น $\frac{r-1}{r^2}$ เพราะผมคูณ $r$ เข้าตรง $dx$ เลยกลายเป็น $d(rx)$ ครับ (คูณเข้าต้องถอนออก )

ผมมีหนังสือเล่มนึงแนะนำ สนใจมั้ยครับ จำได้ว่าพี่ nooonuii เคยแนะนำ (ขายแข่งกะพี่กร )

หน้าปก

ปล. สนใจติดต่อทาง pm ครับ


ผมพิมพ์ผิดครับ โทษที

มันต้องได้ $\frac{1-r}{r^2}$ รึป่าวครับ ผมลองใช้ u sub แล้วมันจะค่า $\frac{-1}{r}$ติดมาด้วย

$\int \frac{1-x}{1-rx}dx = \frac{x}{r} + \frac{r-1}{r}(\frac{-1}{r} + ln\left|\,1-rx\right|)+C$


เทคนิคคือจัดรูปให้ตัวเศษเป็นค่าคงที่ก่อนอย่างนี้นี่เอง

ขอบคุณครับ

เรื่องหน้าปกหนังสือผมเข้าลิ้งค์นั้นไม่ได้ครับ(มันล็อค) แต่ไม่เป็นไรครับ ผมคงไม่ซื้ออยู่แล้ว
กะว่าสอบเสร็จเรื่องนี้เมื่อไหร่จะปล่อยมันไปอย่างนั้นแหละ 55
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #11  
Old 18 กรกฎาคม 2011, 02:14
Real Matrik's Avatar
Real Matrik Real Matrik ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 พฤษภาคม 2011
ข้อความ: 386
Real Matrik is on a distinguished road
Default

ซะงั้นครับ
ต้องหาเหยื่อใหม่ซะแล้ว
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #12  
Old 18 กรกฎาคม 2011, 18:36
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Yuka View Post
2. การใช้ the identity

$$\frac{1}{A}=\int_0^\infty e^{-Ax} dx เมื่อA>0 $$

มันเป็นidentityของอะไรครับ คุณสมบัติอะไร

จะพิสูจน์ว่าเอกลักษณ์นี้มันจริงได้อย่างไรครับ

ขอขอบคุณล่วงหน้าครับ
คำว่า identity ก็คือสองข้างมีค่าเท่ากันนั่นแหละครับ

# 7 ทำไว้ให้ดูแล้วว่าได้มายังไง
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #13  
Old 19 กรกฎาคม 2011, 13:30
Yuka Yuka ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 02 กรกฎาคม 2011
ข้อความ: 38
Yuka is on a distinguished road
Default

ขอบคุณครับ
ผมนึกว่ามันแปลว่าเอกลักษณ์ ที่จริงมันคือการเท่ากัน
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply


หัวข้อคล้ายคลึงกัน
หัวข้อ ผู้ตั้งหัวข้อ ห้อง คำตอบ ข้อความล่าสุด
ช่วยอธิบาย telescoping series identity Yuka คณิตศาสตร์อุดมศึกษา 5 02 กรกฎาคม 2011 23:35
!!! New Identity Discover !!! gon บทความคณิตศาสตร์ทั่วไป 25 16 พฤษภาคม 2008 18:45
ช่วยหน่อยคับ : Algebraic Identity นนท์ พีชคณิต 7 26 เมษายน 2008 21:42
An Euler's identity <Pol> พีชคณิต 0 21 กรกฎาคม 2001 10:34


กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 02:52


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha